ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ตัวแบบการจัดการวัฒนธรรมชุมชนบ้านหมากขามและบ้านหมากม่วงใน เขตเทศบาลตำบลไตรรัฐในยุคประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

Show simple item record

dc.contributor.author คทาเทพ, พงศ์ทอง
dc.contributor.author สุพรรณี, ไชยอำพร
dc.date.accessioned 2020-09-02T02:38:10Z
dc.date.available 2020-09-02T02:38:10Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation มนุษยสังคม, ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2562) : หน้า 49-66 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6900
dc.description.abstract บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญ 3 ประการคือ เพื่อนา เสนอตัวแบบการ จัดการวัฒนธรรมชุมชนบ้านหมากขาม และบ้านหมากม่วง ในเขตตำบลไตรรัฐ อำเภอ เมือง จังหวัดปทุมธานี เพื่อศึกษาการจัดการวัฒนธรรมของชุมชน และเพื่อศึกษาทัศนะ ของประชาชนในชุมชนต่อกิจกรรมทางวัฒนธรรม การวิจัยนี้ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเน้นการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก จากผู้ให้ข้อมูลที่สำคัญ 30 คน และใช้การวิเคราะห์ ตีความ ควบคู่ปริบทและใช้สถิติเชิงพรรณนาประกอบเพื่อให้เกิดความชัดเจนเป็น รูปธรรม ผลการศึกษาพบว่า จากวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ตัวแบบการจัดการวัฒนธรรม ชุมชนในยุคประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่เหมาะสมจะใช้การบูรณาการวงจร Deming (PDCA) และขับเคลื่อนผ่านกลไก คชศร. (ครอบครัว ชุมชน ศาสนา โรงเรียน) จากวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 ชุมชนมีแนวทางการจัดการวัฒนธรรมชุมชนสอดคล้องกับวงจร Deming อันสามารถปรับปรุงการดำเนินกิจกรรมและปรับเปลี่ยนตามปริบทได้อย่าง เหมาะสม และจากวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 ประชาชนในชุมชนมีทัศนะชัดเจนและต้องการ รักษาอัตลักษณ์วัฒนธรรมท้องถิ่นอันสะท้อนถึงชาติพันธุ์ ทั้งไทย มอญและจีนของ ตนเองเอาไว้ และมีความเป็นไปได้สูงในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่ชุมชนเห็นพ้อง ต้องกันว่ามีความสำคัญในการสงวนรักษาวิถีและอัตลักษณ์ของตน en_US
dc.description.abstract This research article consisted of three important objectives: to present the cultural management model of Ban Mark Kham and Ban Mark Muang in Trirath municipality, Muang District, Pathum Thani Province, to study community culture management, and to study the views of people in the community on cultural activities. This research used qualitative research by focusing on in-depth interviews from 30 key informants. Analytical interpretation was employed and context was also analyzed. The descriptive statistics was utilized to make the collected data concise. The results revealed that for the objective 1, the appropriate model of community culture management in the ASEAN Economic Community was the integration of the Deming cycle (PDCA) and drove through the mechanism so called Kor Chor Sor Ror (family, community, religion, school). For the objective 2, the community had a way to manage the community culture in line with the Deming cycle for improving activities and adjusting the context accordingly. For the objective 3, people in the community had clear views and wanted to maintain their identity, local culture reflecting both Thai, Mon and Chinese ethnicities. Moreover there was a high possibility of organizing activities important in preserving their way and identity. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ตัวแบบการจัดการวัฒนธรรมชุมชนบ้านหมากขามและบ้านหมากม่วงใน เขตเทศบาลตำบลไตรรัฐในยุคประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน en_US
dc.title ตัวแบบการจัดการวัฒนธรรมชุมชนบ้านหมากขามและบ้านหมากม่วงใน เขตเทศบาลตำบลไตรรัฐในยุคประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน en_US
dc.title.alternative CulturaManagement Model of Ban Mark Kham and Ban Mark Muang in Trirath Municipality in AEC Era en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics