ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ความไว้วางใจนวัตกรรมในวงจรธุรกรรมการเงินโดยใช้เทคโนโลยีธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผลต่อความสำเร็จ ในการให้บริการของธนาคารพาณิชย์ ในประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.author วีรยุทธ, ศรีจันทรา
dc.date.accessioned 2020-07-20T08:11:31Z
dc.date.available 2020-07-20T08:11:31Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (ก.ค. - ธ.ค. 2560); หน้า 74-83 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6661
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและวิจัยเชิงคุณภาพ​มีวัตถุประสงค์เพื่อ​1)​ ศึกษาความไว้วางใจนวัตกรรมในวงจรธุรกรรมการเงินโดยใช้เทคโนโลยีธนาคารอิเล็คทรอนิคส์ที่ส่งผลต่อความสําาเร็จในการให้บริการของธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทย​2)​ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ​แบบสอบถามโดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ใช้อินเตอร์เน็ตแบงค์กิ้งของธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทย​จําานวน​410​ตัวอย่าง​และได้รับแบบสอบถามสมบูรณ์ทั้งสิ้น​400​ตัวอย่าง​คิดเป็นร้อยละ​97.56​การคัดเลือกกลุ่มประชากรตัวอย่างตามเกณฑ์การวิเคราะห์ของการวิจัยซึ่งเกิดจากการคําานวณตามสูตรของคอแครน​มีระดับความเชื่อมั่นร้อยละ​95​ ผลการทดสอบสมมติฐาน​พบว่า​ความสะดวกสบาย​มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อความไว้วางใจนวัตกรรมในวงจรธุรกรรมการเงินโดยใช้เทคโนโลยีธนาคารอิเล็คทรอนิคส์​อย่างมีนัยสําาคัญทางสถิติที่ระดับ​0.05​(​ p​ =​ 0.015*)​ประโยชน์ที่ได้รับ​มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อความไว้วางใจนวัตกรรมในวงจรธุรกรรมการเงินโดยใช้เทคโนโลยีธนาคารอิเล็กทรอนิกส์​อย่างมีนัยสําาคัญทางสถิติที่ระดับ​0.05​(p=​0.415)​ความปลอดภัย​มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อความไว้วางใจนวัตกรรมในวงจรธุรกรรมการเงินโดยใช้เทคโนโลยีธนาคารอิเล็กทรอนิกส์​มีนัยสําาคัญทางสถิตที่ระดับ​0.05​(p=0.616)​ความเสี่ยง​มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อความไว้วางใจนวัตกรรมในวงจรธุรกรรมการเงินโดยใช้เทคโนโลยีธนาคารอิเล็กทรอนิกส์​อย่างมีนัยสําาคัญทางสถิติที่ระดับ​0.05​(p=0.001*)​ระบบการให้บริการ​มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อความไว้วางใจนวัตกรรมในวงจรธุรกรรมการเงินโดยใช้เทคโนโลยีธนาคารอิเล็คทรอนิคส์​มีนัยสําาคัญทางสถิตที่ระดับ​0.05​(​ p​ =​ 0.219)​ประสบการณ์ของลูกค้า​มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อความไว้วางใจนวัตกรรมในวงจรธุรกรรมการเงินโดยใช้เทคโนโลยีธนาคารอิเล็กทรอนิกส์​มีนัยสําาคัญทางสถิตที่ระดับ​0.05​(p=0.617) en_US
dc.description.abstract This research is quantitative research. The purpose of this study is to investigate the innovative trust in the financial transaction cycle using electronic banking technology that has resulted in the success of commercial banks in Thailand. The tools used in the research were the questionnaire consisted of 410 Internet banking users in Thailand and 400 questionnaires, accounting for 97.56% of the samples. The sample selection was based on the analytical criteria of the research. Formula of cranberry bias confidence level of 95 percent. Test results hypothesis found comfort. There was a positive correlation between trust in innovation in the financial transaction cycle using electronic banking technology. At the 0.05 level of significance (p = 0.015 *), the benefits were There was a positive correlation between trust in innovation in the financial transaction cycle using electronic banking technology. Statistically significant at 0.05 (p = 0.415) Security has a positive relationship to innovation trust in the financial transaction cycle using electronic banking technology. Statistically significant at 0.05 (p = 0.616). The service has a positive correlation with innovation trust in the financial transaction cycle using electronic banking technology. Statistically significant at 0.05 (p = 0.219) en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ความไว้วางใจนวัตกรรมในวงจรธุรกรรมการเงินโดยใช้เทคโนโลยีธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผลต่อความสำเร็จ ในการให้บริการของธนาคารพาณิชย์ ในประเทศไทย en_US
dc.title ความไว้วางใจนวัตกรรมในวงจรธุรกรรมการเงินโดยใช้เทคโนโลยีธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผลต่อความสำเร็จ ในการให้บริการของธนาคารพาณิชย์ ในประเทศไทย en_US
dc.title.alternative Trust ​in​ a​financial ​transaction ​using​ innovative​technologies​ like ​electronic ​banking ​that​ affect​success ​in ​the​ service​ of ​commercial ​banks ​in​Thailand en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics