ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

โครงการออกแบบสื่อนำเสนอขั้นตอนการก่อสร้างงานเสาเข็มเจาะ กรณีศึกษา : โครงการ เดอะเบสรามคำแหง-พระรามเก้า อาคารชุดพักอาศัย ๓๕ ชั้น

Show simple item record

dc.contributor.advisor รศ.สมบัติ ประจญศานต์ en_US
dc.contributor.advisor อาจารย์กฤตณ์ ปิตาทะสังข์ en_US
dc.contributor.advisor อาจารย์วิสาข์ แฝงเวียง en_US
dc.contributor.advisor อาจารย์ปิยชนม์ สังข์ศักดา en_US
dc.contributor.author ธิติวัฒน์, พุ่มพวงธนพงษ์
dc.date.accessioned 2020-04-03T05:57:32Z
dc.date.available 2020-04-03T05:57:32Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6148
dc.description วท.บ.(เทคโนโลยีสถาปัตยกรรม) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ,2556 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑. เพื่อศึกษาเทคนิคกระบวนการก่อสร้าง โครงการ เดอะเบส เรื่อง งานเสาเข็มเจาะ มีเสาเข็มทั้งหมด ๑๔๒ ต้น ในโครงการ มี ๒ ระบบ คือ ระบบแห้งและระบบเปียก ลักษณะกระบวนการทำงานแต่ละขั้นตอนของการก่อสร้างเสาเข็มเจาะ ตั้งแต่เริ่มขุดเจาะดินไปจนถึงกระบวนการสุดท้ายทั้งระบบแห้งและระบบเปียก ๒. เพื่อออกแบบและจัดทำสื่อนำเสนอ เทคนิคการก่อสร้างงานเสาเข็ม ในรูปแบบสื่อนำเสนอเป็นภาพนิ่งสลับกับภาพเคลื่อนไหวพร้อมกับเสียงบรรยายแต่ละขั้นตอน กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักศึกษาเทคโนโลยีการก่อสร้างกับนักศึกษาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม และบุคคลที่สนใจ ได้รับความรู้ ความเข้าใจ กับสื่อนำเสนอได้ดีและตอบสนองงานเสาเข็มมากที่สุดพร้อมกับคำถามท้ายสื่อนำเสนอ อายุของสื่อ สามารถดูสื่อนำเสนอการก่อสร้างเสาเข็มเจาะได้ตลอดเพราะเป็นมาตรฐานของการก่อสร้าง สื่อนี้ใช้ได้ทุกที่และสื่อมีความยาว ๒๐ นาที ออกแบบภาพ ภาพประกอบมีภาพจริงประกอบด้วยแต่มีขนาดเท่ากันกับพื้นหลัง ข้อความที่เขียนเป็นการบอกลักษณะคุณสมบัติของการก่อสร้าง มุมกล้องจะเป็นมุมมองปกติ , Ant Eyes View , Bird Eyes View เรื่องราว สไตล์ เป็นสื่อนำเสนอขั้นตอนการก่อสร้างงานเสาเข็มเจาะ กรณีศึกษาโครงการ เดอะเบส รามคำแหง – พระรามเก้า อาคารชุดพักอาศัย ๓๕ ชั้น เป็นสไตล์ องค์ประกอบของ Theme/Style ใช้สีโทนอึมครึม เช่น น้ำตาลอ่อน เทา เพื่อให้ได้บรรยากาศของการก่อสร้าง ใช้นำเสนอสีโทนเย็น สีน้ำตาลเข้ม สีเทา ลวดลายพื้นหลังเป็นภาพอิฐบล็อก พื้นผิว สีดำเพราะตัวหนังสือเป็นสีขาว รูปแบบอักษรเป็นแบบตัวเหลี่ยม ลักษณะคล้ายก้อนอิฐเวลาแตก ออกแบบภาพ ศึกษาดูจาก Case ตัวอย่าง ศึกษาจากเคสนำเสนอจากงานขายบ้านบริษัทแห่งหนึ่ง ที่ใช้ตัวที่เริ่มรายการนับถอยหลัง ซึ่งเป็นข้อที่น่าจะเป็นตัวกั้นสื่อก่อนที่จะเล่น สรุปว่าตัวผู้วิจัยจึงเลือกข้อดีของสื่อนี้มาใช้ การเก็บข้อมูลเป็น ๒ ประเภท ได้แก่ ข้อมูลปฐมภูมิ ได้ไปลงพื้นสถานที่ก่อสร้าง โครงการ เดอะเบส ซึ่งได้ถ่ายภาพและเก็บข้อมูลรวมทั้งเอกสารเกี่ยวกับเอกสารการก่อสร้าง เช่น ไฟล์แคด เป็นต้น และการสัมภาษณ์บุคคล และข้อมูลทุติยภูมิ เช่น ข้อมูลรายงานวิธีการทดสอบเสาเข็มวิธีพลศาสตร์และรายงานขั้นตอนการเจาะเสาเข็มโครงการ เดอะเบส รามคำแหง – พระรามเก้า ผลการวิจัยพบว่า 1. เทคนิคกระบวนการก่อสร้าง นักศึกษาผู้ชมสื่อได้รับความรู้ ความเข้าใจ และ เทคนิคการก่อสร้างงานเสาเข็มเจาะ ที่สอดแทรกเนื้อหาได้อย่างน่าสนใจ 2. ออกแบบและจัดทำสื่อนำเสนอ เทคนิคการก่อสร้างงานเสาเข็ม สื่อนำเสนอที่เหมาะสมและมาตรฐานในการปฏิบัติการสำหรับกระบวนการก่อสร้างเสาเข็มเจาะเป็นแนวทางสำหรับผู้ที่สนใจทำวิจัยประเภทเดียวกัน en_US
dc.description.sponsorship Buriram Rajabhat University en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.title โครงการออกแบบสื่อนำเสนอขั้นตอนการก่อสร้างงานเสาเข็มเจาะ กรณีศึกษา : โครงการ เดอะเบสรามคำแหง-พระรามเก้า อาคารชุดพักอาศัย ๓๕ ชั้น en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline เทคโนโลยีสถาปัตยกรรม en_US
dc.degree.level ปริญญาตรี en_US
dc.degree.name หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีสถาปัตยกรรม) en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics