ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การจัดอันดับเรทติ้งด้านการประหยัดพลังงานของครัวเรือนในประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.author ศศิธร, แม้นสงวน
dc.date.accessioned 2019-08-09T08:18:05Z
dc.date.available 2019-08-09T08:18:05Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร. ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2560) : หน้า 307-317 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5374
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้พลังงานของประชาชนภาคครัวเรือน และการจัดอันดับเรทติ้ง ประเทศไทยกับการประหยัดพลังงาน ก่อนและหลังการจัดโครงการประชาสัมพันธ์รณรงค์การประหยัดพลังงาน ภาย ใต้กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ปี 2559 กระทรวงพลังงาน ประชากรการวิจัย ได้แก่ ประชาชนภาคครัว เรือน โดยสุ่มตามความสะดวก ใน 6 ภาคๆละ 2 จังหวัดรวม12 จังหวัด ที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงสุด และรองลงมา เก็บรวบรวมข้อมูลก่อนและหลังครั้งละ 1,778 ตัวอย่าง รวม 3,556 ตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็น แบบสอบถามการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าที (t-test) และค่าไคสแควร์ ( x 2 ^"2" - test)ผลการวิจัย พบว่า การรับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานความน่าเชื่อถือและการเข้าถึงประชาชนของสื่อ ได้แก่ สื่อโทรทัศน์ การให้ความสำคัญกับการประหยัดพลังงาน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ก่อนการจัดโครงการฯ กลุ่มตัวอย่างในแต่ละ ภาคให้ความสำคัญกับการประหยัดพลังงานเรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวัน ตกภาคตะวันออกภาคเหนือและภาคกลาง ภาคใต้แต่หลังการจัดโครงการฯแล้ว แต่ละภาคให้ความสำคัญดังนี้ภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตกภาคเหนือและภาคใต้ พฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวัน (Lifestyle) กับการประหยัดพลังงาน พบว่า หลังจัดโครงการฯแล้วมีค่าเฉลี่ย โดยรวมสูงกว่าก่อนจัดและโดยรวมมีพฤติกรรมการ ประหยัดพลังงานอยู่ในระดับมาก โครงการที่รับรู้มากที่สุด ได้แก่ โครงการ “รวมพลังหาร 2 คิดก่อนใช้” en_US
dc.description.abstract This research aimed (1) to examine the use of energy by household sector in Thailand and (2) to determine rankings on energy saving prior to the implementation of, and after the completion of a public relations campaign project for energy saving funded by the Ministry of Energy for promoting energy conservation in 2016. The population of this study was from six regions, in which two provinces were selected from each region according to the level of energy consumption from the highest to the lowest. Data were collected from 1,778 subjects from both prior to the implementation and after the completion of the campaign which made a total of 3,556 subjects. A questionnaire was used to collected data. The data collected were analyzed in terms of percentage and mean. Furthermore, the researchers employed a t-test technique and Chi-Squared (x 2^"2" -test). Findings are as follows: Prior to the campaign, the sample population from the regions paid attention to energy saving in the following descending order: northeastern and western, eastern, northern and central regions, and southern. After the campaign, the regions prioritized energy saving in the following descending order: northeastern, central, eastern, western, northern, and southern regions, respectively. In regard to lifestyle and energy saving, it was found that after the campaign, the overall mean was higher than prior to the implementation of the campaign and behavior in energy saving was also evident at a high level. The most frequently perceived project was “Combine Energy Divide by Two, Think Before Use”. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การจัดอันดับเรทติ้งด้านการประหยัดพลังงานของครัวเรือนในประเทศไทย en_US
dc.title การจัดอันดับเรทติ้งด้านการประหยัดพลังงานของครัวเรือนในประเทศไทย en_US
dc.title.alternative Hoursehold’s Energy Saving Rating in Thailand en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics