ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

The Simplification of Complex Onsets in the Sequence of Stop_Obstruent in Khmer Loanwords in Thai

Show simple item record

dc.contributor.author Chom, Sonnang
dc.date.accessioned 2019-08-09T07:43:27Z
dc.date.available 2019-08-09T07:43:27Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 14, ฉบับที่ 3 (ก.ย.- ธ.ค. 2559) : หน้า 51 - 65 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5355
dc.description.abstract The objective of recent study was to investigate how the complex onsets in Khmer loanwords in Thai were simplified. The data of the study were collected from the previous studies on Khmer loanwords in Thai. Only the words contained with complex onsets in the sequence of stop and obstruent (stop_obs) were selected and they are still in use in the present Thai. The result of the study was found that 27 complex onsets in the sequence of stop & obs were attested with Khmer loanwords in Thai and they were simplified. The strategies of simplification were segment deletion, segment insertion or featural change. Thai grammar prefers the segment insertion, by /a/ epenthesis, to the featural change and the segment deletion. The unaspirated stops in the first position, from the featural change, surfaced as aspirated stop in some words. The solving by segment deletion was not popular to Thai grammar. Most of complex onsets were not systematically simplified. The complex onset pd, for example, had surfaced as many alternated form, pha-d, pra-d, or ra-d. The findings could help language learners find their way to understand Khmer language, especially in pronunciation of Khmer words. en_US
dc.description.abstract บทความนี้มีจุดมุ่งหมายในการนำเสนอการศึกษาประเด็น “การปรับเปลี่ยนของพยัญชนะควบกลํ้าในรูปแบบ พยัญชนะเสียงหยุดกับพยัญชนะเสียงอ็อบสตรูอันต์ ในคำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย” โดยศึกษาจากข้อมูลคำควบกลํ้า ภาษาเขมรที่ใช้ในภาษาไทยที่มีผู้ได้รวบรวมไว้เป็นผลงานวิชาการในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา และเป็นคำศัพท์ที่ยังใช้ใน ภาษาไทยปัจจุบัน ผลการศึกษาพบว่า พยัญชนะควบกลํ้าในรูปแบบพยัญชนะเสียงหยุดกับพยัญชนะ เสียงอ็อบสตรูอันต์ จำนวน 27 คู่ ได้ถูกยืมเข้ามาในภาษาไทย และได้เกิดการปรับเปลี่ยนเป็นจากคำเดิมที่ใช้ในภาษาเขมร โดยกระบวนการ ในการปรับเปลี่ยนที่ปรากฏคือ การแทรกหน่วยเสียงสระ a การปรับเปลี่ยนลักษณะเด่นจำแนก และการลบหน่วยเสียง พยัญชนะสิถิลในตำแหน่งแรกของควบกลํ้าได้ปรับเป็นพยัญชนะธนิตในบางคำ ลักษณะการปรับเปลี่ยนที่มักจะไม่ค่อยพบในไวยากรณ์ภาษาไทยคือ การลบหน่วยเสียง ลักษณะการปรับเปลี่ยนพยัญชนะควบกลํ้าในแต่ละคำนั้นเกิดขึ้นได้ หลายรูปแบบไม่ได้เป็นระบบตายตัว กล่าวคือ พยัญชนะควบกลํ้าหนึ่งเสียงสามารถปรับเปลี่ยนไปได้หลายเสียง เช่น การปรับเปลี่ยนเป็นพยัญชนะ pd พบการปรับเปลี่ยนเป็น pha, pra หรือ ra ข้อค้นพบดังกล่าว เป็นประโยชน์อย่าง ยิ่งต่อการเรียนการสอนคำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย และทำให้เข้าใจกระบวนการปรับเปลี่ยนเสียงพยัญชนะควบกลํ้า ในคำยืมภาษาเขมรในภาษาไทยได้ดียิ่งขึ้น" en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject The Simplification of Complex Onsets in the Sequence of Stop_Obstruent in Khmer Loanwords in Thai en_US
dc.title The Simplification of Complex Onsets in the Sequence of Stop_Obstruent in Khmer Loanwords in Thai en_US
dc.title.alternative The Simplification of Complex Onsets in the Sequence of Stop_Obstruent in Khmer Loanwords in Thai en_US
dc.title.alternative The Simplification of Complex Onsets in the Sequence of Stop_Obstruent in Khmer Loanwords in Thai en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics