ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การสร้างนวัตกรรมสื่อชุมชนภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา : บ้านปะคำสำโรง ตำบลตูมใหญ่ อำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ระยะที่ 2

Show simple item record

dc.contributor.author สุจิตรา, ยางนอก
dc.date.accessioned 2019-08-09T07:22:59Z
dc.date.available 2019-08-09T07:22:59Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร. ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2559) : หน้า 45-59 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5342
dc.description.abstract การวิจัยมีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์นวัตกรรมมโหรีสู่สาธารณะ 2) ศึกษากระบวนการ เผยแพร่นวัตกรรมสื่อชุมชนภูมิปัญญาท้องถิ่น และ 3) สรุปบทเรียนผู้เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาและวิจัยนวัตกรรมสื่อชุมชนอย่าง ยั่งยืน กรณีศึกษา บ้านปะคำสำโรง ตำบลตูมใหญ่ อำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่าง มีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR) โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ข้อมูล เชิงคุณภาพรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยการสัมภาษณ์เจาะลึก การอภิปราย กลุ่ม และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณใช้แบบสอบถาม สุ่มตัวอย่างจากประชากรในพื้นที่ศึกษา ผลการ ศึกษา พบว่า 1) การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์นวัตกรรมมโหรีสู่สาธารณะ ประกอบด้วย ตัวโน้ต อัดเสียงทำนอง วีดิทัศน์ การขับเคลื่อนสู่สาธารณะผ่านรายการชีวิตจริงยิ่งกว่าละคร ตอน “มโหรีชีวิต” สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (Thai PBS) และ ข้อมูลพื้นฐานกลุ่มอนุรักษ์มโหรีพื้นบ้านปะคำสำโรง 2) กระบวนการเผยแพร่นวัตกรรมสื่อชุมชนภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ สร้างความตระหนัก โดยบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ทางการบริการวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ กับกลุ่มอนุรักษ์มโหรีพื้นบ้านบ้านปะคำสำโรง และ องค์การบริหารส่วนตำบลตูมใหญ่ และ 3) สรุปบทเรียนผู้เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและวิจัยนวัตกรรมสื่อชุมชนอย่างยั่งยืน ประกอบด้วย การถอดบทเรียนเพื่อประเมินผลสำเร็จการขับเคลื่อน กิจกรรม ประเมินความพึงพอใจ ประเมินการรับรู้จากผู้รับชมการแสดงและผู้ว่าจ้าง en_US
dc.description.abstract การวิจัยมีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์นวัตกรรมมโหรีสู่สาธารณะ 2) ศึกษากระบวนการ เผยแพร่นวัตกรรมสื่อชุมชนภูมิปัญญาท้องถิ่น และ 3) สรุปบทเรียนผู้เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาและวิจัยนวัตกรรมสื่อชุมชนอย่าง ยั่งยืน กรณีศึกษา บ้านปะคำสำโรง ตำบลตูมใหญ่ อำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่าง มีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR) โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ข้อมูล เชิงคุณภาพรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) โดยการสัมภาษณ์เจาะลึก การอภิปราย กลุ่ม และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณใช้แบบสอบถาม สุ่มตัวอย่างจากประชากรในพื้นที่ศึกษา ผลการ ศึกษา พบว่า 1) การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์นวัตกรรมมโหรีสู่สาธารณะ ประกอบด้วย ตัวโน้ต อัดเสียงทำนอง วีดิทัศน์ การขับเคลื่อนสู่สาธารณะผ่านรายการชีวิตจริงยิ่งกว่าละคร ตอน “มโหรีชีวิต” สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (Thai PBS) และ ข้อมูลพื้นฐานกลุ่มอนุรักษ์มโหรีพื้นบ้านปะคำสำโรง 2) กระบวนการเผยแพร่นวัตกรรมสื่อชุมชนภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ สร้างความตระหนัก โดยบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ทางการบริการวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ กับกลุ่มอนุรักษ์มโหรีพื้นบ้านบ้านปะคำสำโรง และ องค์การบริหารส่วนตำบลตูมใหญ่ และ 3) สรุปบทเรียนผู้เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและวิจัยนวัตกรรมสื่อชุมชนอย่างยั่งยืน ประกอบด้วย การถอดบทเรียนเพื่อประเมินผลสำเร็จการขับเคลื่อน กิจกรรม ประเมินความพึงพอใจ ประเมินการรับรู้จากผู้รับชมการแสดงและผู้ว่าจ้าง en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การสร้างนวัตกรรมสื่อชุมชนภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา : บ้านปะคำสำโรง ตำบลตูมใหญ่ อำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ระยะที่ 2 en_US
dc.title การสร้างนวัตกรรมสื่อชุมชนภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา : บ้านปะคำสำโรง ตำบลตูมใหญ่ อำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ระยะที่ 2 en_US
dc.title.alternative Building Local Wisdom Media Innovation for Sustainable Development : A Case Study of Pakamsamrong Villagev, Toomyai Sub District, Kumuang District, Buriram Province Phase 2 en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics