ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การสร้างสรรค์งานศิลปะไตรองศะในงานจิตรกรรมไทยรัตน์โกสินทร์

Show simple item record

dc.contributor.author ยศนันท์, แย้มเมือง
dc.date.accessioned 2019-08-09T07:08:40Z
dc.date.available 2019-08-09T07:08:40Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 15, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย.2560): หน้า 333-344 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5332
dc.description.abstract การวิจัยเรื่องนี้ มีความมุ่งหมายเพื่อ ศึกษาการใช้ไตรองศะในงานศิลปะไทยรัตนโกสินทร์ เพื่อศึกษาแนวทาง การนำไตรองศะมาประยุกต์ใช้ในงานศิลปะไทยรัตนโกสินทร์และเพื่อสร้างสรรค์ผลงานด้านงานจิตรกรรมแนวคิด ไตรอง ศะ เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยวิธีการสัมภาษณ์ การสังเกต การสนทนากลุ่ม และการประชุมเชิงปฏิบัติการ พบว่า ศิลปกรรมในวัด 9 วัดมีความสอดคล้องกันจากอิทธิพลของจิตรกรรม ฝีมือชั้นครู ในการนำ สี เส้นและรูปทรง เรื่องราว มา ใช้ในการสร้างสรรค์จิตรกรรม ผู้วิจัยได้ทำการสร้างสรรค์งานจิตรกรรมตามแนวคิดไตรองศะขึ้นและคัดเลือกผลงาน ที่ดีเด่น จำนวน 10 ชิ้น จัดแสดงนิทรรศการ 3 ครั้ง พบว่าผู้ชมนิทรรศการมีความเข้าใจงานศิลปะด้านจิตรกรรมรัตนโกสินทร์ของ ผู้วิจัย โดยประเมินจากการตีความหมายของภาพจิตรกรรมได้ใกล้เคียงสิ่งที่ผู้วิจัยนำ�เสนอ และมีความพึงพอใจ ข้อเสนอ แนะเพิ่มเติมคือ สำหรับผู้ชมโดยทั่วไป ควรมี คำบรรยายใต้ภาพสั้นๆ พอสังเขป เป็นแนวทางให้เกิดความเข้าใจ คุณค่า ความงาม และความหมายได้ ด้วยตนเอง สอดคล้องกับรูปแบบศิลปกรรมไทยรัตนโกสินทร์จากบรรพกาล เช่น ลายใน รูปสามเหลี่ยม ที่นำไปใช้ในงานจิตรกรรมไทย ได้แก่ กนก นารี กระบี่ คชะ ตามหลักการเรียนศิลปะไทย การสร้างสรรค์ จิตรกรรมไทยรัตนโกสินทร์ ไตรองศะ จึงน่าจะเป็นที่ยอมรับได้ มีอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ในแนวทางการสร้างสรรค์งาน ที่เป็นสุนทรียศาสตร์ และวัฒนธรรมศาสตร์ เพื่อนำเสนอสู่สากล ในด้านคุณค่า และคุณประโยชน์ ด้านอิทธิพล และแรง บันดาลใจจากบรรพบุรุษไทย en_US
dc.description.abstract This research study aimed to study Tri-Ongsa art and its application in Thai art and its place in the creation of new art-work. The study was done through qualitative data collection from interviews, observations, group discussions and workshops. Data collected at nine Rattanakosin-era temples shows that Tri-Ongsa was developed for use in paintings, sculptures and architecture. The triangular figures and shapes were associated with morality, wellness, religion and strategies concerning Heaven, the Earth, and the Underworld. The general public may be unaware of the message in the pictures and were aided by short captions that guide them to understand the beauty and meaning. The researchers selected ten outstanding pieces of the Tri-Ongsa method for three art exhibitions. It was found that the audiences who visited those three exhibitions were impressed and understood the Tri-Ongsa Rattanakosin art-work being shown. The researchers feel that the Tri-Ongsa art of the Rattanakosin period should be recognized by the ten ASEAN countries. Thailand would then be acknowledged for the exposure of Tri-Ongsa on the international art stage. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การสร้างสรรค์งานศิลปะไตรองศะในงานจิตรกรรมไทยรัตน์โกสินทร์ en_US
dc.title การสร้างสรรค์งานศิลปะไตรองศะในงานจิตรกรรมไทยรัตน์โกสินทร์ en_US
dc.title.alternative Creative decoding of Tri-Ongsa art in the Rattanakosin period en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics