ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ความเป็นหลังนวยุคของ นิโคโล มาเคียเวลลี ตัดสินในหนังสือเจ้าผู้ปกครอง: การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษณ์ วิธาน

Show simple item record

dc.contributor.author วีระชัย, ยศโสธร
dc.date.accessioned 2019-08-09T07:08:26Z
dc.date.available 2019-08-09T07:08:26Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 14, ฉบับที่ 3 (ก.ย.- ธ.ค. 2559) : หน้า 117 - 122 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5331
dc.description.abstract เจ้าผู้ปกครอง เป็นปรัชญาหลังนวยุคหรือไม่ ผลการวิจัยพบว่า เหตุผลของฝ่ายตรงข้ามที่สนับสนุนว่าไม่เป็น ปรัชญาหลังนวยุค มีเหตุผล 2 ข้อ คือ 1) รูปแบบการปกครองมุ่งเฉพาะเรื่องผลประโยชน์โดยละเลยศีลธรรม และ 2) รัฐใน รูปแบบต่างๆ ใช้เพียงกฎหมายในการบริหารปกครองประเทศเพื่อรวมศูนย์อำ นาจไว้ที่เจ้าปกครองเท่านั้น แต่ผู้วิจัยกลับคิด เห็นตรงกันข้ามว่าเหตุผลของฝ่ายตรงข้ามทั้งสองข้อต่างมีจุดอ่อน ได้แก่ 1) ตีความแบบแยกส่วน ไม่คำนึงถึงความจำเป็น และไม่แยกแยะเส้นแบ่งระหว่างเรื่องการปกครองกับเรื่องศีลธรรมทางศาสนา ทำ ให้เข้าใจผิดว่ามาเคียเวลลีพยายามทำลาย ความเชื่อทางศาสนาและเน้นการปกครองโดยมุ่งผลประโยชน์เฉกเช่นกลุ่มนวยุคนิยม และ 2) ตีความไม่รัดกุม คือ นำเฉพาะ ประเด็นที่มีประโยชน์ต่อการนำไปตีความแบบนวยุคเท่านั้น แต่ไม่มองถึงเรื่องของศีลธรรมที่เป็นเกณฑ์เสริมเพื่อให้เกิดธร รมาภิบาลในการบริหารปกครอง และละเลยประเด็นด้านภูมิศาสตร์และวิธีการบริหารปกครองที่ต้องมีการกระจายอำนาจ ไปยังภาคส่วนต่างๆ ทั่วประเทศ ผู้วิจัยเสนอคำตอบใหม่ว่า ความคิดทางการเมืองของมาเคียเวลลี ในหนังสือ เจ้าผู้ปกครอง เป็นปรัชญาหลังนวยุคสายกลาง ด้วยเหตุผล 3 ประการ คือ 1) ความคิดทางการเมืองของ นิโคโล มาเคียเวลลี สนับสนุน ให้เกิดการแสวงหาจุดร่วมสงวนจุดต่างด้วยพลังสร้างสรรค์ ปรับตัว ร่วมมือ และแสวงหา 2) ความคิดทางการเมืองของ นิโคโล มาเคียเวลลี มีเส้นแบ่งเรื่องกฎหมายและศีลธรรมอย่างชัดเจน และ 3) ความคิดทางการเมืองของ นิโคโล มาเคียเวล ลี มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งโดยส่วนตนและส่วนรวม" en_US
dc.description.abstract This dissertation was a philosophical research, the objective of which was to discuss and find solution to the research question whether Machiavelli’s political thought in “The Prince” was postmodernist. The counterpart argued that Machiavelli’s political thought in “The Prince” could not be accepted as postmodernist due to two reasons:- 1) his public administration focuses exclusively on the benefits for state without any concern for political ethics; 2) his government approved public laws that endorsed central administration in which administrative power was bestowed on the supreme ruler only. The researcher objected to their proposal and discovered that their two arguments had defects due to the following reasons. 1) There was a partial and biased explanation of Machiavelli’s political thought: they did not see the fine line that separates the objectives of public administration from ethics, morality and religions. Their misinterpretation eventually led to their misunderstanding, misjudgment and pseudo accusation that Machiavellihad an objective to destroys religions and concerns exclusively the public utility without caring a violation of morality in the same way as politico-philosophical approach of modernism. 2) Their selective reading of Machiavelli’s text: they did not have a holistic understanding of Machiavelli’s political writing in “The Prince”. They draw only parts of his writings that supported their modern political philosophy. They ignored other parts of Machiavelli’s text that advised the princes/ rulers/ administrators to care for moral and good governance principles in public administration. They failed to bring into consideration the politico-geographical facts during Machiavelli’s lifetime which needed the decentralization of political power. In this research, the researcher discovered that Machiavelli’s political thought in “The Prince” was a kind of ‘Moderate Postmodern Philosophy’ by three reasons. 1) Machiavelli’s political thought supported the use of creative, adaptive, cooperative and inquisitive powers to reach common standpoint and to withhold the differences. 2) Machiavelli’s political thought indicated a divide-line between laws and morality. 3) Machiavelli’s political thought supported quality life development of each individual and that of the public. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ความเป็นหลังนวยุคของ นิโคโล มาเคียเวลลี ตัดสินในหนังสือเจ้าผู้ปกครอง: การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษณ์ วิธาน en_US
dc.title ความเป็นหลังนวยุคของ นิโคโล มาเคียเวลลี ตัดสินในหนังสือเจ้าผู้ปกครอง: การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษณ์ วิธาน en_US
dc.title.alternative Postmodernism of Nicolo Machievalli Justified in “The Prince”: An Analytic, Appreciative and Applicative Study en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics