ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การสร้างสรรค์ทรัพยากรธรณี แหล่งหินภูเขาไฟลำนารายณ์ เพื่อเป็นเครื่องประดับ

Show simple item record

dc.contributor.author อรุณี, เจริญทรัพย์
dc.date.accessioned 2019-08-09T06:41:50Z
dc.date.available 2019-08-09T06:41:50Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร. ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2559) : หน้า 89-95 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5305
dc.description.abstract การสร้างสรรค์ทรัพยากรธรณี แหล่งหินภูเขาไฟ ตำบลลำนารายณ์ อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี เพื่อเป็นเครื่อง ประดับ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบเครื่องประดับจากหินอาเกตหรือเพอร์ไรต์ 2) สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับวัสดุดิบใน ท้องถิ่นเพื่อใช้ภายใน ทดแทนการนำเข้าและพัฒนาสู่การส่งออก และ 3) สร้างองค์ความรู้สู่ชุมชนเพื่อสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ และสร้างคุณภาพชีวิตให้กับชุมชน โดยทำการศึกษาจากการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ รวมถึงมีการประเมินผลการออกแบบโดยผู้เชี่ยวชาญเพื่อนำมาวิเคราะห์และปรับปรุงผลงานใน การวิจัยครั้งนี้ได้สร้างสรรค์ผลงานเครื่องประดับจำนวนทั้งสิ้น 15 รูปแบบ จากการประเมินความพึงพอใจโดยผู้เชี่ยวชาญใน ด้านการออกแบบ ด้านกรรมวิธีการผลิตและด้านประโยชน์ใช้สอยพบว่ามีอยู่ไนระดับมากในทุกรูปแบบ นอกจากนี้ผลการ ศึกษาดังกล่าวยังเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับวัสดุดิบในท้องถิ่นตลอดจนและสร้างองค์ความรู้สู่ชุมชนเพื่อสร้างงาน สร้าง อาชีพ สร้างรายได้ โดยมุ่งถึงความสวยงาม การเพิ่มมูลค่าแก่สินค้า การสร้างโอกาสทางการตลาด สร้างภาพลักษณ์ให้แก่ ผลิตภัณฑ์ และคงเอกลักษณ์ท้องถิ่น รวมทั้งชุมชนสามารถนำต้นแบบผลิตภัณฑ์พัฒนาเข้าสู่ระบบอุตสาหกรรมขนาดกลาง และขนาดย่อม en_US
dc.description.abstract This research aims to develop the creativity of mineral resource from Lam Narai volcanic rock as accessory. The purposes of this research are 1) to develop the design of Agate Accessory, 2) to generate value added to local material, substitute for import raw material and develop into export product in future, and 3) to transfer knowledgebase and generate income to local community. In this research, there were 15 designs of Agate Accessory. The result from assessment of the experts in design revealed that the Agate accessory had the highest satisfactory level in the aspect of design, production process, and resource utilization. In addition, this research would promote adding value to local material and transfer of knowledge to generate new job and income to local community by considering esthetic designs, adding value to product, creating of market opportunity, creating and maintaining of local product identity, and commercialization for small and medium enterprise. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การสร้างสรรค์ทรัพยากรธรณี แหล่งหินภูเขาไฟลำนารายณ์ เพื่อเป็นเครื่องประดับ en_US
dc.title การสร้างสรรค์ทรัพยากรธรณี แหล่งหินภูเขาไฟลำนารายณ์ เพื่อเป็นเครื่องประดับ en_US
dc.title.alternative The Creativity of Mineral Resource as Accessory from Lam Narai Volcanic Rock en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics