ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

เรื่องเล่า ตำนานกับการสร้างพื้นที่วัฒนธรรมในทุ่งกุลาร้องไห้

Show simple item record

dc.contributor.author สมปอง, มูลมณี
dc.date.accessioned 2019-08-09T04:00:17Z
dc.date.available 2019-08-09T04:00:17Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 14, ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค. 2559) : หน้า 89 - 100 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5256
dc.description.abstract บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้เรื่องเล่าตำนานเมืองจำปาขันในฐานะชุมชนโบราณที่มีความเป็น มาถึงสี่พันปีถือเป็นพื้นที่สำคัญในบริเวณทุ่งกุลาร้องไห้ และตำนานบุคคลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเล่าตำนานจำปาขัน อาทิ เจ้าปู่ผ่าน ผีหัวแสง พระโมคลานะ ในฐานะที่เป็นกระบวนการปฏิบัติการสร้างพื้นที่ทางวัฒนธรรมในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ผลการศึกษาพบว่าพื้นที่บริเวณบ่อจำปาขัน หรือเมืองจำปาขันเป็นชุมชนในวิถีจารีตที่ มีการสร้างพื้นที่ทางความเชื่อ 2 ฝ่ายทับซ้อนกัน ซึ่งกลุ่มแรกให้ความสำคัญกับตำนานความเชื่อเรื่องผี ควบคู่กับการสร้าง พื้นที่ทางความเชื่อทางพุทธศาสนา ซึ่งเป็นการจัดการพื้นที่ทางวัฒนธรรมร่วมกัน ใช้การปฏิบัติต่อพื้นที่ให้มีความสัมพันธ์ กันผ่านประเพณีการนับถือผีเดียวกัน การใช้เรื่องเล่าตำนานเชื่อถือเจ้าเจ้าพ่อปู่ผ่าน เจ้าปู่จำปาขัน พญานาค ผีหัวแสง และ พระโมคคัลลานะ ปฏิบัติการทางสังคมเพื่อสร้างความสำคัญด้วยการอนุรักษ์พื้นที่ในฐานะพื้นที่ทางวัฒนธรรม และพื้นที่ ศักดิ์สิทธิ์สามารถสื่อให้เห็นความผูกพันระหว่างชุมชนกับธรรมชาติในลักษณะการเกื้อกูลซึ่งกันและกัน รวมถึงธรรมชาติ ยังเป็นเสมือนตัวตนและจิตวิญญาณของผู้คนในชุมชนท้องถิ่นด้วย นอกจากนี้ยังพบว่าชุมชนได้ ใช้เรื่องเล่าเจ้าพ่อและพุทธ ประวัติพื้นบ้านเพื่อการอนุรักษ์พื้นที่การทำเกลือพื้นบ้านที่สำคัญ รวมถึงใช้ตำนานในการดูและรักษาความสมบูรณ์ของ ทรัพยากรธรรมชาติ และจัดการวัฒนธรรมทางสังคมด้วยการกำหนดกิจกรรมประจำปีของชุมชน ทำให้การใช้พื้นที่ว่าด้วย การจัดการทรัพยากรแหล่งผลิตเกลือ และผืนป่าอนุรักษ์ที่ทับซ้อนระหว่างชุมชนกับนโยบายรัฐสามารถพัฒนาไปด้วยกันได้ อย่างลงตัวและประนีประนอมในที่สุด en_US
dc.description.abstract This article aimed to study urban legend of ancient community, Champa Khan which was dated back to four thousand years and legendary personalities associated with such ridiculous stories of Champa legendary as Chao Pu Phan, Phi Heu Seang, Moggallana, as an action process to create a cultural space in Thung Kula Rong Hai, Suvarnabhumi District, Roi Ed province. The study found that the area around the Champa Khan pond or Champa Khan City was a community in a conservative way in which the faith of the two sides was overlapped, the first group of which featured on the legendary spiritualism coupled with the creation of the Buddhist faith, which was a common cultural space management, which was used to treat areas that were connected through the same tradition of animism, using narrative myth, belief in Chao, Choa Pho Phan, Chao Pu Champa Khan, serpent king, Phi Hua Seang and Moggalana. Social operation to create importance for the Conservation Area as a cultural space and sacred space indicated the relation between the community and nature in harmony. Nature also included a virtual identity and spirit of the people in local communities. It also found that community used the tale of Chao Pho and Buddhist folklore to conserve the important salt areas, which included using the legend to view and maintain the integrity of natural resources and social cultural management by defining the annual activities of the community in order to make use of the resources that produce salt and forest conservation that overlapped between community and state policy, which can be developed in harmony and compromise at the end. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject เรื่องเล่า ตำนานกับการสร้างพื้นที่วัฒนธรรมในทุ่งกุลาร้องไห้ en_US
dc.title เรื่องเล่า ตำนานกับการสร้างพื้นที่วัฒนธรรมในทุ่งกุลาร้องไห้ en_US
dc.title.alternative Narrative of Myths and cultural space Construction in Thung Kula Rong Hai en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics