ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การเปรียบเทียบผลการเรียนประเด็นปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิทยาศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานตามวิธีปัญหาเป็นฐาน และวิธีวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ที่มีต่อความสามารถในการโต้แย้ง และการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

Show simple item record

dc.contributor.author สุนันทา, บุญโนนแต้
dc.date.accessioned 2019-08-09T03:41:46Z
dc.date.available 2019-08-09T03:41:46Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 14, ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค. 2559) : หน้า 139 - 150 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5237
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาความสามารถในการโต้แย้งของนักเรียนโดยรวม หลังเรียนประเด็น ปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิทยาศาสตร์ โดยใช้รูปแบบผสมผสานตามวิธีปัญหาเป็นฐานและวิธีวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น 2) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ก่อนและหลังเรียนประเด็นปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้ วิทยาศาสตร์โดยใช้รูปแบบผสมผสานตามวิธีปัญหาเป็นฐานและวิธีวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ของนักเรียนโดยรวม 3) เปรียบ เทียบความสามารถในการโต้แย้งและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ที่เรียนประเด็นปัญหาทางสังคมที่ เกี่ยวข้องกับการใช้วิทยาศาสตร์โดยใช้รูปแบบการเรียนต่างกัน และจำแนกตามเพศ ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1) นักเรียน โดยรวม หลังเรียนประเด็นปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิทยาศาสตร์โดยใช้รูปแบบผสมผสานตามวิธีปัญหาเป็น ฐานและวิธีวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น มีความสามารถในการโต้แย้งเพิ่มขึ้นจากการสอบ ประเด็นที่ 1–4 คือ การโคลนนิ่ง พืช ดัดแปลงพันธุกรรม การใช้สารเคมีในไร่อ้อย และการทำแท้ง 2) นักเรียนโดยรวม ที่เรียนประเด็นปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวข้อง กับการใช้วิทยาศาสตร์ โดยใช้รูปแบบผสมผสานตามวิธีปัญหาเป็นฐานและวิธีวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น มีความสามารถใน การคิดวิเคราะห์โดยรวม และเป็นรายด้าน เพิ่มขึ้นจากก่อนเรียน (p<.001) 3) นักเรียนที่เรียนประเด็นปัญหาทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิทยาศาสตร์โดยใช้รูปแบบผสมผสานตามวิธีวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น มีความสามารถในการโต้แย้ง มากกว่านักเรียนที่เรียนโดยใช้รูปแบบผสมผสานตามวิธีปัญหาเป็นฐาน (p<.001) และนักเรียนหญิงมีความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ จำนวน 2 ด้าน คือ ด้านความสำคัญ และด้านหลักการ มากกว่านักเรียนชาย (p≤.001) en_US
dc.description.abstract This research aimed to (1) study argumentation abilities of the students as a whole after learning socio-scientific Issues using the mixed methods based on the problem-based learning method and the 7E-learning cycle approach ; (2) compare analytical thinking abilities before and after learning socio-scientific Issues using the mixed methods based on the problem-based learning method and the 7E-learning cycle approach students as a whole ; and (3) compare argumentation and analytical thinking abilities learning socio-scientific issues of the students as classified according to gender and using different learning methods. The research findings revealed that :1) The students as a whole after learned the socio-scientific issues using the mixed methods based on the problem -based learning method and the 7E-learning cycle approach showed of argumentation abilities from the 1stto 4th test : Cloning, Genetically modified plants; GMP, The chemicals used in sugarcane and Abortion. 2) The students as a whole learned the socio-scientific issues using the mixed methods based on the problem-based learning method and the 7E-learning cycle approach showed gains in an entire analytical thinking and in each of 3 subscales from before learning (p≤.0001). 3) The students learned socio-scientific issues using the mixed methods based on the 7E-learning cycle approach indicated more argumentation than did the counterpart students (p≤.0001). And the female students who learned socio-scientific issues indicated more analytical thinking abilities in general and in 2 subscales: analysis of elements and analysis of organizational principles than did the male students (p≤.0001). en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การเปรียบเทียบผลการเรียนประเด็นปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิทยาศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานตามวิธีปัญหาเป็นฐาน และวิธีวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ที่มีต่อความสามารถในการโต้แย้ง และการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 en_US
dc.title การเปรียบเทียบผลการเรียนประเด็นปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิทยาศาสตร์ โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานตามวิธีปัญหาเป็นฐาน และวิธีวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น ที่มีต่อความสามารถในการโต้แย้ง และการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 en_US
dc.title.alternative Comparisons of Effects of Learning Socio-scientific Issues Using the Mixed Methods based on the Problem-based Learning Method and the 7E-Learning Cycle Approach on Argumentation and Analytical Thinking Abilities of Mattayomsueksa 4 Students en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics