ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างความเป็นชาย ความเป็นหญิง ในหนังสือชุด เมื่อคุณตาคุณยายยังเด็ก

Show simple item record

dc.contributor.author วิภาดา, รัตนดิลก ณ ภูเก็ต
dc.date.accessioned 2019-08-09T03:23:09Z
dc.date.available 2019-08-09T03:23:09Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 14, ฉบับที่ 3 (ก.ย.- ธ.ค. 2559) : หน้า 27- 34 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5223
dc.description.abstract หนังสือสำ หรับเด็กเป็นพื้นที่ของ “สารทางอุดมการณ์” ที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการปลูกฝัง ขัดเกลา หล่อหลอม กระทั่งสร้างตัวตนของเด็กได้อย่างแนบเนียนและเป็นธรรมชาติ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธีทางภาษาและ อุดมการณ์ในหนังสือ “เมื่อคุณตาคุณยายยังเด็ก” ตามแนววาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์เผยให้เห็นอุดมการณ์เกี่ยวกับความ สัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่าง “ความเป็นชาย - ความเป็นหญิง” ซึ่งผู้มีอำนาจในสังคมกลุ่มหนึ่งได้ใช้ “ภาษา” เป็นเครื่องมือ ประกอบสร้าง ตอกยํ้า และผลิตซํ้าอุดมการณ์เพื่อปลูกฝังหรือควบคุมความคิดของเด็กและสังคมผ่านวาทกรรม อันนำ ไปสู่ ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ ความเหลื่อมลํ้า และความไม่เท่าเทียมในสังคม" en_US
dc.description.abstract Children’s books can be a place where “ideologies” were embedded and a subtle influence on the ways in which children were taught, trained and disciplined. A critical discourse analysis of the “Muea khunta Khunyai Yang Dek” book series revealed gender ideologies in terms of power relations between masculinity and femininity. The study argued that “language” has been used as an instrument by a group of the powerful in the society to construct, emphasize and reproduce the ideologies that have been instilled into children and society. This leads to an asymmetrical power relation and social inequality. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างความเป็นชาย ความเป็นหญิง ในหนังสือชุด เมื่อคุณตาคุณยายยังเด็ก en_US
dc.title ความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างความเป็นชาย ความเป็นหญิง ในหนังสือชุด เมื่อคุณตาคุณยายยังเด็ก en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics