ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนาเอกสารประกอบการเรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Show simple item record

dc.contributor.advisor ประสิทธิ์ สุวรรณรักษ์ en_US
dc.contributor.advisor มาลิณี จุโฑปะมา en_US
dc.contributor.advisor ประคอง กาญจนการุณ en_US
dc.contributor.advisor ศิราณี จุโฑปะมา en_US
dc.contributor.author ราตรี, เนตรรัตน์
dc.date.accessioned 2017-09-28T03:08:34Z
dc.date.available 2017-09-28T03:08:34Z
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/2570
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่องงานประดิษฐ์ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย ( งานใบตอง ) กลุ่มสารการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของชั้นประถมศึกษาปีที่6 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยเอกสารประกอบการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ที่มีต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่องงานประดิษฐ์ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย (งานใบตอง) โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเียนแสนศิริอนุสรณ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 จำนวน30 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ เอกสารประกอบการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้เอกสารประกอกากรเรียนรู้ แบบทดสอบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 30 ข้อ เป็นสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก ซึ่งมีค่าความยากง่าย ตั้งแต่ .35 - .78 ค่าอำนาจจำแนก ตั้งแต่ .34 - .78 และค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 034 -78 และค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับเท่ากับ 0.8316 และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ไดเแก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบียงเบมาตราฐานและทดสอบสมมติฐานโดยใช้ Dependent Samples t- test ผลการวิจัยพบว่า 1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่องงานประดิษฐ์ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย ( งานใบตอง ) กลุ่มสารการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ เท่ากับ 86.81/87.22 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ 80/80 2.นักเรียนที่เรียนด้วยเอกสารประกอบการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ กลุ่มสารการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสุงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.นักเรียนที่เรียนด้วยเอกสารประกอบการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ กลุ่มสารการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การพัฒนาเอกสารประกอบการเรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 en_US
dc.title การพัฒนาเอกสารประกอบการเรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 en_US
dc.title.alternative Development of Learning Documentary by Using Group Dynamics in Occupation and Technology Strand for Prathomsuksa 6 Students en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline หลักสูตรและการสอน en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics