ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่องวงจรไฟฟ้า โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Show simple item record

dc.contributor.advisor สมพงษ์ สิงหะพล en_US
dc.contributor.advisor สุรชัย ปิยานุกูล en_US
dc.contributor.advisor สาธิต ผลเจริญ en_US
dc.contributor.advisor ปิยาภรณ์ ศิริภานุมาศ en_US
dc.contributor.author ณัฐสิตา, สมสมัย
dc.date.accessioned 2017-09-16T04:21:59Z
dc.date.available 2017-09-16T04:21:59Z
dc.date.issued 2556
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/1646
dc.description.abstract การวิจัยในครั้งนี้ มีความมุ่งหมายเพื่อ 1 ) พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง วงจรไฟฟ้า โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่6 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่องวงจรไฟฟ้า โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ชั้นประถมศึกษาปีที่6 3) ศึกษาดัชนีประสิทธิผลของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์รื่องวงจรไฟฟ้า โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ชั้นประถมศึกษาปีที่6 แลแะ 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเียนชั้นประถมศึกษาปีที่6 ที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง วงจรไฟฟ้า โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ประชากร คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านละหานทราย ( คุรุราษฎร์บำรุงวิทยา ) อำเภอละหารทราย จังหวัดบุรีรัมย์ ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา2554 จำนวน 167 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่6/1 จำนวน 40 คนที่เียนเรื่อง วงจรไฟฟ้า เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ชุดกิจกรรมการเรียนทางวิทยาศาสตร์ จำนวน 5 ชุด 2) แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 7 แผน 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 40 ข้อ โดยมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.75 และ 4) แบบประเมิณความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนด้วยชุดกิจกรรมเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์ โปรแกรมสำเร็จรูปใช้สถิติ ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า และสถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน ใช้ค่าสถิติ t ( Dependent Samples t - test ) ผลการวิจัยพบว่า 1.ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง วงจรไฟฟ้า โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 84.26 /85.75 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือ80/80 2. นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการเรียนชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง วงจรไฟฟ้า โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าก่อนการเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ดัชนีประสิทธิผลของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง วงจรไฟฟ้า โดยใช้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เท่ากับ 0.7853 แสดงว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น หลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมกรเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง วงจรไฟฟ้าโดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ร้อยละ 78.53 4. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศทาตร์รื่อง วงจรไฟฟ้า โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.title ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่องวงจรไฟฟ้า โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 en_US
dc.title.alternative The Effects of Using Scientific Learning Activity Packages on Electronics Circuits Through the Inquiry Process for Prathomsuksa en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline หลักสูตรและการสอน
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics