ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

โครงการจัดทําฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น : กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมืองที่มีชื่อเสียงจําแนกตามกลุ่ม ชาติพันธุ์ในจังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author สมบัติ, ประจญศานต์ และคณะ
dc.date.accessioned 2023-05-20T07:22:55Z
dc.date.available 2023-05-20T07:22:55Z
dc.date.issued 2546
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/8613
dc.description.abstract การจัดทําฐานขอมูลภูมิปญญาทองถิ่น : กรณีศึกษาผลิตภัณฑผาทอพ ื้ นบานที่มีชื่อเสียง จําแนกตามกลมชาต ุ ิพันธุในจังหวดบั ุรีรัมย  มีวัตถุประสงคของการวิจัย 2 ประการ ไดแก  1. จัดทําฐานขอมูลของผูทรงภูมิปญญาทองถ ิ่ นดานการทอผาทอพ ื้ นเมืองที่มีชื่อเสียง จําแนกตามกลมชาต ุ ิพันธุในจังหวดบั ุรีรัมย 2. เพ ื่ อศึกษาและบันทึกลวดลายของผาขิดและผามัดหม ี่ ลงสื่อ การวิจัยคร ั้ งน ี้เปนการวิจัยเชงคิ ุณภาพเพ ื่อใหไดตรงตามวตถั ุประสงคของการวิจัยจึง ดําเนินการวิจัยการศึกษาประชากรที่เปนบคคล ุ ไดแก ผูผลิตผาทอพ ื้ นเมืองและประชากรที่เปน ผลิตภัณฑไดแก  ลวดลายของผาขิดและผาไหมมัดหม ี่ในจังหวัดบุรีรัมยจําแนกตามกลุมชาติพันธุ ไดดังน ี้ กลุมไทยกวย จํานวน 20 คน จํานวน 15 ลาย กลุมไทยเขมร จํานวน 20 คน จํานวน 10 ลาย กลุมไทยโคราช จํานวน 20 คน จํานวน 12 ลาย และกลุมไทยลาว จํานวน 135 คน จํานวน 59 ลาย รวมจํานวนท ั้ งสิ้น 195 คน จํานวน 96 ลายโดยจดทั ําเปนทําเนยบรายช ี ื่อ จากการศึกษาพบวา ภูมิปญญาทองถ ิ่ นสวนใหญมีอาย 31 – 50 ุ ป (รอยละ 61.5) จบ การศึกษาในระดับประถมศกษาตอนปลาย ึ (รอยละ 76.8) สืบเช ื้ อสายมาจากกลุมชาติพันธุไทยลาว (รอยละ 69.1) มีถิ่นฐานตามแหลงผลิตท ี่ คณะวิจัยเขาศึกษาโดยไมมีการยายถิ่น (รอยละ 86.2) ภูมิปญญาทองถ ิ่ นสวนใหญมีอาชีพหลักในการทํานา (รอยละ 92.9) โดยมีรายไดเฉลี่ย 2,000 บาทตอ เดือน (รอยละ 41.5) ขอมูลของภูมิปญญาทองถ ิ่ นเก ี่ ยวกับการผลิตผาทอพ ื้ นเมืองดานประสบการณทั่วไป พบวา ภูมิปญญาทองถ ิ่ นสวนใหญมีประสบการณการผลิตในขั้ นตอนการทอผา (รอยละ 25) และ การฟอกยอมเสนใย (รอยละ 21.4) ซึ่งผลิตผาทอพ ื้ นเมืองเพื่อเปนรายไดเสร  ิม (รอยละ 51.4) โดยเริ่ม เรียนรูการผลิตจากบรรพบุรุษ (รอยละ 85.8) ตั้งแตอายุ 16 – 20 ป (รอยละ 45.4) ซึ่งสวนใหญเริ่ม เรียนรูจากขนตอนการปล ั้ ูกหมอน (รอยละ 29.7) เปนอันดับแรกโดยอาศัยเคร ื่ องมือและอุปกรณใน การผลิตท ี่ใชตอจากบรรพบุรุษ (รอยละ 58.3) เม ื่ อผลิตเปนผืนผาแลว สวนใหญจะจําหนายใหแก กลุมอาชีพท ี่ตนเปนสมาชิก (รอยละ 41.6) โดยกลุมจะเปนผ ูกําหนดราคาของสินคาและภูมิปญญา ทองถ ิ่ นสวนใหญไดรับการอบรมท ี่ เก ี่ ยวของกับการผลิตผาทอพ ื้ นเมือง (รอยละ 59.9) ความเช ี่ยวชาญเฉพาะโดยภาพรวมภูมิปญญาทองถ ิ่ นสวนใหญมีความเช ี่ ยวชาญเฉพาะดานการทอผา มากที่สุดรองลงมาคือการมัดหม ี่การฟอกยอม การผลิตเสนใยและการขิด ตามลําดับ สวนใหญ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ Buriram Rajabhat University ค ยังไมเคยไดรับรางวัลจากการประกวดผาทอพ ื้ นเมืองยกเวนกล  ุมไทยลาวที่เคยไดรับรางวัลจากการ ประกวดในระดับจังหวัดและระดับภาค สวนใหญได ถายทอดความรและท ู ักษะการทอผาแกบุตรี ในลักษณะฝกห ัดตามแบบเปนผูชวยในการผลิตของครัวเรือน โดยไมกําหนดระยะเวลาท ี่ ตายตัว ผูรับการถายทอดสวนใหญมีอายุประมาณ 10 – 12 ปขึ้นไป ภูมิปญญาทองถ ิ่ นสวนใหญประสบปญหาดานการตลาดมากที่สุดรองลงมาคือ ปญหา วัตถุดิบมีราคาสูงหรือการขาดแคลนวัตถุดิบ และตองการความรูเพ ิ่ มเตมเกิ ี่ ยวกับการมัดหม ี่ และการ ออกแบบลวดลายผาเน ื่องจากปจจยดั านการตลาดในปจจุบันมีผลตอความเปลี่ยนแปลงเอกลักษณ ของผาทอพ ื้ นเมือง เน ื่ องจากแนวคดการผล ิ ิตเพ ื่อใหตรงกบความต ั องการของผูบริโภคมิใชผลิตเพื่อ ผูทอใชเองเหมือนในอดีต กระบวนการผลิตผาทอพ ื้ นเมืองของภูมิปญญาทองถ ิ่ นที่ศึกษาคลายคลึงกับกระบวนการ ผลิตท ั่วไปในภาคอีสาน แตสถานะการณ  ปญหาเรื่องวัตถุดิบมีแนวโนมส ูงขึ้น การนําเขาวัตถุดิบจาก ภายนอกชุมชนมีปริมาณมาก โดยเฉพาะไหมพันธุผสมจากโรงงาน และย ิ่ งชุมชนที่มีภูมิปญญา ทองถ ิ่ นที่มีความเช ี่ ยวชาญดานการทอผ  ามากเทาใดยิ่งมแนวโน ี มท ี่ จะทําใหชุมชนเปนแหล  งฟอก ยอมทอผาอยางเดียว นอกจากนี้ยังพบปญหาการที่ผูผลิตขาดทักษะทางวิทยาศาสตรขั้นพ ื้ นฐาน เชน การชั่ง ตวง วัด และการจดบันทึกทําใหคุณภาพของผลิตภัณฑไมคงท ี่ เปนการส ิ้นเปลืองวัตถุดิบ ในแงการผล  ิต ขอเสนอแนะ สําหรับนํางานวิจัยไปใชประโยชนอยางเต็มท ี่ ควรขยายขอบเขตการศึกษา และจัดทําใหครอบคลุมท ั้ งจังหวัดบุรีรัมยเพอความสมบ ื่ ูรณของขอมูลและเปนประโยชนตอการนํา ขอมูลไปใชเพอการพ ื่ ัฒนา ใหความสนใจตอกลุมผูผลิตที่มิไดถูกคัดเลอกเป ื นสุดยอดผลิตภัณฑและ  ควรสงเสริมใหเกิดนักออกแบบในชุมชนโดยประสานความรวมมือจากสถาบันการศึกษาในพื้นท ี่ ในการฝกอบรม เรียนรูหลักสูตรระยะสั้น และการสนับสนุนใหสถาบนการศ ั ึกษาในชุมชนควรมี สวนในการจัดเก็บรวบรวมลวดลายผาลงในตารางกริดใหครอบคลุมลวดลายด ั้ งเดิมและตอเน ื่ อง ตามลวดลายผาท ี่ไดรับการออกแบบข ึ้นใหมอยูตลอดเวลารวมถึงการสงเสริม สนับสนุนนักศกษา ึ ของสถาบันราชภัฏบุรีรัมยใหมีสวนรวมในการว  ิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม เพ ื่อเปนการรวม แลกเปลี่ยนเรียนรูนํามาซ ึ่ งความภาคภูมิใจในภูมิปญญาทองถ  ิ่ นของตนอันเปนกลวิธีในการสืบสาน ภูมิปญญาทองถ ิ่ นอยางย ั่ งยืน มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.description.sponsorship Buriram Rajabhat University en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ผ้าทอมือ en_US
dc.subject Textiles en_US
dc.subject บุรีรัมย์ en_US
dc.subject ฺิburiram en_US
dc.title โครงการจัดทําฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น : กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมืองที่มีชื่อเสียงจําแนกตามกลุ่ม ชาติพันธุ์ในจังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.type Research en_US
dc.contributor.emailauthor sombat.pj@bru.ac.th en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics