ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ก้านขดจากลายประดับขอมสู่งานไหมมัดหมี่

Show simple item record

dc.contributor.author สมบัติ ประจญศานต์
dc.date.accessioned 2019-09-10T04:59:39Z
dc.date.available 2019-09-10T04:59:39Z
dc.date.issued 2561-03-17
dc.identifier.citation เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติ โฮมภูมิ ครั้งที่ 3 ภูมิปัญญาสู่อนาคต: Wisdom for the Future เครือข่ายสถาบันการศึกษาด้านสถาปัตยกรรมและการออกแบบ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 8 สถาบัน. หน้า 17-27. en_US
dc.identifier.isbn 9786164382794
dc.identifier.isbn 9786164382794
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5545
dc.description.abstract บทคัดย่อ ก้านขด เป็นลายจำหลักที่สำคัญ บนเสาติดกับผนังและหน้าบันของปราสาทขอม ตั้งแต่กลางพุทธศตวรรษที่ 13 ถึงพุทธศตวรรษที่ 18 นับแต่ศิลปะพระโค บาแค็ง คลัง บาปวน นครวัด และบายน บรรพชนได้ออกแบบสร้างสรรค์โดยการแปรเปลี่ยนองค์ประกอบและจัดวางองค์ประกอบลายในพื้นที่ตามแต่จินตนาการ ผู้ออกแบบมีแรงบันดาลใจในการแปรเปลี่ยนองค์ประกอบของลายสู่การสร้างสรรค์ลายมัดหมี่ ซึ่งอาศัยกระบวนการออกแบบเรขศิลป์ ด้วยเทคนิคการลดรูป การเพิ่มรูป และการสร้างมิติด้านระยะด้วยค่าน้ำหนักของสีในวงจรสี นำไปผลิตผ้าไหมมัดหมี่ จำนวน 3 ผืน พบว่าในการจัดสร้างผลงานต้องเข้าใจกระบวนการก่อรูปของลายมัดหมี่ การใช้เทคนิคการกำหนดลายในตารางกริดทำให้ช่างมัดหมี่ตามแบบได้ง่าย และช่างย้อมสีสามารถแยกสีในการย้อมแต่ละครั้งจากแบบลายสีได้ อีกทั้งการออกแบบสีโดยอาศัยเทคนิคการสร้างมิติด้านระยะด้วยค่าน้ำหนักของสีตามวงจรสี ทำให้ได้ผลงานที่น่าสนใจ Abstract Kankhot (the name of a decorative pattern) is an important motif on the pilasters and pediment of the Khmer sanctuary during the middle of the 13th to the 18th Buddhist century. In the era of Preah Ko, Bakheng, Khleang, Baphuon, Angkor Wat and Bayon, Khmer ancestors creatively designed compositional graduation and pattern orientation in their area by their imagination. The designer had an inspiration to the compositional gradation of the sanctuary’s ornament to create mudmee motifs which were based on the process of graphic design using subtractive and additive techniques as well as creation of distance-dimensional technique by using colour value based on the colour wheel in order to produce 3 pieces of mudmee silk. The key findings of the creation were the understanding of mudmee forming process and the use of pattern orientation on grid which makes it easy for the producers to follow the patterns and enables dyers to distinguish colours from the patterns in each dye. In addition, colour design using the distance-dimensional technique with colour values based on the colour wheel makes an interesting contribution. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ก้านขด, ลาย, ปราสาทขอม, ไหม, มัดหมี่, Kankhot, motif, Khmer sanctuary,silk, mudmee en_US
dc.title ก้านขดจากลายประดับขอมสู่งานไหมมัดหมี่ en_US
dc.title.alternative Kankhot : From Khmer sanctuary ornament to silk mudmee en_US
dc.type Article en_US
dc.contributor.emailauthor sombat.pj@bru.ac.th en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics