ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ผังพื้นปราสาทขอมสู่งานไหมมัดหมี่

Show simple item record

dc.contributor.author สมบัติ ประจญศานต์
dc.date.accessioned 2019-09-10T04:38:46Z
dc.date.available 2019-09-10T04:38:46Z
dc.date.issued 2560-06-17
dc.identifier.citation เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติ โฮมภูมิ ครั้งที่ 3 ภูมิปัญญาสู่อนาคต: Wisdom for the Future เครือข่ายสถาบันการศึกษาด้านสถาปัตยกรรมและการออกแบบ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 8 สถาบัน. en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5540
dc.description.abstract บทคัดย่อ ผงั พนื้ ของปราสาทขอม ถอืเปน็ภาพสญัลกัษณส์ากลสอื่แสดงแบบทางสถาปตัยกรรมดว้ยการตดัในแนวราบท�าเหน็ถงึแนวผนงั ขอบเขตของตัวอาคารปราสาทขอมท่ีมีพัฒนาการตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 -18 ตั้งอยู่ในภูมิภาคอินโดจีน และยังไม่เคยน�ามาสู่การ สร้างสรรค์งานหัตถกรรมผ้าไหมมัดหมี่ทอมือแต่อย่างใด ผู้ออกแบบจึงมีแรงบันดาลใจในการแปรเปลี่ยนองค์ประกอบของลายสู่การ สร้างสรรค์ลายมัดหมี่ ซึ่งอาศัยกระบวนการออกแบบเรขศิลป์ด้วยเทคนคิการลดรปูแลว้จดัองคป์ระกอบศลิป์ พฒันาสลู่ายเพอื่การมดั หมี่แล้วน�าไปผลิตผ้าไหมมัดหมี่ จ�านวน 3 ผืน ข้อค้นพบที่ส�าคัญในการจัดสร้างผลงานคือ ความเข้าใจกระบวนการก่อรูปของลายมัดหมี่ และการใช้เทคนิคการก�าหนดลายในตารางกริดท�าให้ช่างมัดหมี่ท�าตามแบบได้ง่าย ช่างย้อมสีสามารถแยกสีในการย้อมแต่ละครั้งจาก แบบลายสไีด้ อกีทงั้การออกแบบใหส้เีสน้พงุ่เปน็คนละสกีบัสเีสน้ยนืเมอื่ทอขดักนัท�าใหเ้กดิการผสานกนัของสไีหมท�าใหค้า่ความจดัของ สี น�้าหนักของสี และความเป็นสีเปลี่ยนไปโดยการผสานสีทางสายตาช่วยแต่เพิ่มเสน่ห์ให้แก่ผืนผ้าได้ Abstract Plan of Khmer sanctuary is considered a universal symbol demonstrating architectural drawing by the horizontal section which shows the boundary of the sanctuary’s buildings in Indochinese Peninsula which were developed during the 12th - 18th Buddhist century. In addition, it has never been applied to the creation of mudmee silk handicraft. The designer had an inspiration to the compositional gradation of the Khmer sanctuary Plan’s pattern to create mudmee motifs which were based on the process of graphic design using subtractive techniques, composition, pattern development and a production of 3 pieces of mudmee silk. The key findings of the creation were the understanding of mudmee forming process and the use of pattern orientation on grid which makes it easy for the producers to follow the patterns and enables dyers to distinguish colours from the patterns in each dye. Apart from this, the design to create weft threads and warp thread with different colours when they were woven resulted in the colour combination of silk which varied intensity, value and hue by combining visual colours but enhancing the attractiveness of the cloth. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ผังพื้น, ลาย, ปราสาทขอม, ไหม, มัดหมี่, plan, motif, Khmer sanctuary,silk, mudmee en_US
dc.title ผังพื้นปราสาทขอมสู่งานไหมมัดหมี่ en_US
dc.title.alternative Plan of Khmer Castle on Mudmee Silk en_US
dc.type Article en_US
dc.contributor.emailauthor sombat.pj@bru.ac.th en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics