ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author จิรายุฑ, ประเสริฐศรี
dc.date.accessioned 2019-08-09T06:55:07Z
dc.date.available 2019-08-09T06:55:07Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 14, ฉบับที่ 3 (ก.ย.- ธ.ค. 2559) : หน้า 221 - 228 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5316
dc.description.abstract การวิจัยเรื่องการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรม การเรียน 2) วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ การวิจัย ครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบทดลองกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวและเปรียบเทียบการทดสอบก่อน – หลัง เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของกลุ่ม ตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศิลปะ และการออกแบบ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ จำ นวน 20 คน ได้มาจากวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการสอนรายวิชาภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ 2) กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ 3) แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน 4) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t - test แบบ Dependent ผลการวิจัยพบ ว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพความสำคัญต่อการพัฒนาพฤติกรรมการเรียน ด้านความกระตือรือร้นสนใจบทเรียนและการทบทวนบทเรียนนอกเวลาของนักศึกษา และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่า นักศึกษามีพัฒนาการความรู้ความเข้าใจสามารถทำแบบวัดผลสัมฤทธิ์หลังการใช้สื่อสังคมออนไลน์ได้คะแนนสูงกว่าก่อนการ ใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ โดยเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็น ไปตามสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว้ en_US
dc.description.abstract The research entitled ‘using of social network to organize learning activities on course 3D Animation of Student of the Program of Computer Art and Design, Buriram Rajabhat University’ aimed 1) to compare learning behavior, 2) to assess the learning outcome of the courses on 3D animation learning activities through social network. This research was carried out through an one experimental group with pretest - posttest design; the sample group of which included 20 students of the third year in the Computer Art and Design Program at Buriram Rajabhat University who were obtained by the purposive sampling technique. The instrument used in this research included 1) Lesson plan for 3D animation 2) Learning activities through the Social Network 3) Teaching Behavior Observing Form 4) The achievement for Learning. The statistics used to analyze data were percentage, mean, standard deviation and Dependent T-Test. The results revealed that organization of the learning activities through social Network resulted in effectiveness of developing the learning behavior in term of eagerness to study the lessons and revising of the lessons. In the aspect of learning outcome, it was found that student showed the development of cognitive abilities and abilities to do achievement test and secured the score after using social network higher than before the use of social network, which was consistent with the specified norm with 70% more than the level of statistical significance at .05, which was consistent with the fixed hypothesis. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.title การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาภาพเคลื่อนไหว 3 มิติ สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative Using of social network to organize learning activities on course 3D animation for Student of the Program of Computer Art and Design, Buriram Rajabhat University en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics