ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

สังคมบนฐานความรู้กับสันติภาพ

Show simple item record

dc.contributor.author เอนก, สุวรรณบัณฑิต
dc.date.accessioned 2019-08-09T03:22:32Z
dc.date.available 2019-08-09T03:22:32Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร. ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2558) : หน้า 149-159 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5221
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อถกคำถามทางปรัชญาว่า “การแข่งขันกันสะสม ความรู้ของคนในสังคมบนฐานความรู้จะคํ้าประกันสันติภาพโลกหรือไม่” โดยใช้วิภาษ วิธีและการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น คำตอบที่วิจัยได้คือ “สันติภาพไม่ได้ขึ้นอยู่กับ การเก็บสะสมความรู้ไว้มากกว่ากัน” โดยฝ่ายตรงข้ามแสดงเหตุผล 3 ข้อ ได้แก่ 1) มี พฤติกรรมที่แสดงความเชื่อว่าการสะสมข้อมูลจะคํ้าประกันสันติภาพ 2) มีความสำนึก ที่จะแสดงความเชื่อว่าการสะสมข้อมูลจะคํ้าประกันสันติภาพ และ 3) มีการแข่งขัน กันสะสมข้อมูลให้เหนือกว่ากันแสดงความเชื่อว่าจะเป็นทางรักษาสันติภาพโลก ผู้วิจัย วิจารณ์เหตุผลฝ่ายตรงข้ามว่ามีจุดอ่อนอย่างสำคัญคือ การแข่งขันกันสะสมความรู้ได้ สร้างปัญหาทางสังคมอย่างใหม่ และคติ “คุณธรรมคือความรู้” ของโสคราติสไม่อาจ ตีความเป็น “ความรู้คือคุณธรรม” และยิ่งมีการแข่งขันกันสะสมความรู้จะยิ่งเพิ่มความ ขัดแย้งและความรุนแรงซึ่งขัดขวางการสร้างสันติภาพโลก ผู้วิจัยเสนอเหตุผลสนับสนุน คำตอบวิจัยว่า 1) คนรุ่นใหม่สะสมความรู้เพราะเป็นรูปแบบการดำรงชีวิตอย่างใหม่ เนื่องจากเทคโนโลยีที่ปิดล้อมมนุษยชาติไว้ และ 2) การพัฒนาสังคมบนฐานความรู้ ต้องดำเนินตามกระบวนทรรศน์หลังนวยุคสายกลางที่เน้นการแบ่งปันและความรับ ผิดชอบในการใช้ข้อมูลความรู้เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตแก่คนในสังคมบนฐานความรู้ ซึ่งจะส่งผลให้มนุษย์เลือกใช้สันติวิธีในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ผลลัพธ์ของ การวิจัยนี้สามารถนำไปเป็นแนวทางในการประยุกต์ใช้ในการพัฒนาสังคมบนฐาน ความรู้เพื่อส่งเสริมสันติภาพโลก en_US
dc.description.abstract This research aimed to investigate the philosophical problem “will the competitive knowledge collecting of humanity in Knowledge Based Society assure the world peace?” by dialectic and dialogue approach. The reply was “peace does not depend on the more knowledge collecting” in which 3 reasons were advanced by the opponents: 1) there are widespread behaviors to express the belief that data collecting will assure peace, 2) there was common sense to express the belief that data collecting will assure peace, and 3) there was an expression of the belief that competitive data collecting was the way to maintain peace. But these arguments of the opponents were criticized by a researcher as fallacies based on these reasons: 1) the competitive knowledge collecting behavior makes us face with new social problems. 2) Socrates’ ideology “virtue is knowledge” could not be interpreted as “knowledge is virtue”. 3) The more competition of knowledge collecting existed; the more conflict and violence that hindered making the world peace existed. The researcher’s argumentative position was supported by the following reasons: 1) Young generation collected knowledge because it was a new lifestyle in which humanity was blocked by the technology. 2) Development of knowledge based society must be operated on the line of middle path of postmodern paradigm that focused on sharing and responsibility in use of information to promote social life quality on the basic of knowledge, which affected the way a man used to solve the various problems with peace. The result of the research could be applied to development of knowledge based society to make the world peace. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject สังคมบนฐานความรู้กับสันติภาพ en_US
dc.title สังคมบนฐานความรู้กับสันติภาพ en_US
dc.title.alternative Knowledge Based Society and Peace en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics