ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนาการประกอบอาชีพเลี้ยงโคขุนผสมผสานการใช ภูมิปญญาทองถิ่น กรณีศึกษา กลุมผูเลี้ยงโคขุนบานสี่เหลี่ยมเจริญ ตําบลแสลงพัน อําเภอลําปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย

Show simple item record

dc.contributor.author จรัส, สว่างทัพ
dc.contributor.author ดำรง, กิตติชัยศรี
dc.contributor.author นฤมล, สมคุณา
dc.contributor.author รังสิมา, สว่างทัพ
dc.contributor.author เอกสิทธิ์, สมคุณา
dc.date.accessioned 2017-12-04T15:14:05Z
dc.date.available 2017-12-04T15:14:05Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/3440
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อไดแก (1) การศึกษาสภาพการประกอบการเลี้ยงโคเนื้อของกลุม ผูเลี้ยงโคเนื้อขุนบานสี่เหลี่ยมเจริญ (2) การศึกษาองคความรูภูมิปญญาพื้นบานดานการคัดเลือกโค อาหาร การจัดการเลี้ยงดู และการปองกันรักษาโรคของผูรูภูมิปญญาทองถิ่น (3) ศึกษาคุณคาของ ภูมิปญญาทองถิ่นที่พัฒนาการเลี้ยงโคเนื้อขุนของเกษตรกร และสรางบทเรียนภูมิปญญาดานการเลี้ยงดูโค เนื้อขุนสําหรับเกษตรกร กลุมเปาหมายที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย ผูรูภูมิปญญาทองถิ่นดานการเลี้ยง โค-กระบือ ในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย จํานวน 34 คน หมอสมุนไพรและปราชญภูมิปญญาเชี่ยวชาญ จํานวน 5 คน และเกษตรกรผูเลี้ยงโคเนื้อขุนบานสี่เหลี่ยมเจริญ จํานวน 12 คน ไดมาโดยวิธีการเลือกอยาง เจาะจง การดําเนินการวิจัย ไดแก 1) การศึกษาสภาพการประกอบการเลี้ยงโคเนื้อ 2) การศึกษาองค ความรูภูมิปญญาพื้นบานในการเลี้ยงโคเนื้อ และ 3) ศึกษาคุณคาของภูมิปญญาทองถิ่นที่พัฒนาการเลี้ยง โคเนื้อขุนของเกษตรกร โดยการตรวจสอบขอมูลภูมิปญญาพื้นบานโดยหมอสมุนไพรและปราชญ ภูมิปญญาเชี่ยวชาญ และใชหลักการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอธิบายคุณคาพืชสมุนไพรตํารับยา เครื่องมือที่ใชไดแกแบบสัมภาษณและเทคนิคการเก็บรวบรวมขอมูลโดยวิธีการสัมภาษณเจาะลึกและการ อภิปรายกลุม วิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณดวยสถิติ ความถี่ รอยละคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขอมูลเชิงคุณภาพดวยการวิเคราะหเนื้อหาพบวาเกษตรกรผูเลี้ยงโคเนื้อขุนมีอาชีพทํานา และเลี้ยงโคขุน เปนอาชีพรอง มีโคขุนเปนลูกผสมชาโรเลสการเลี้ยงโคจะอาศัยภูมิปญญาที่สืบทอดกัน เพิ่มจํานวนโคโดย การผสมเทียม ใชอาหารธรรมชาติและเสริมอาหารขนนานๆ ครั้ง และปองกันโรคดวยวัคซีน การจําหนาย ผานพอคาคนกลาง โดยการประมาณน้ําหนัก และรูปรางโคดวยสายตา และมีการใชสมุนไพรในการรักษา โรค การสืบคนภูมิปญญาดานสมุนไพรและผานการตรวจสอบจากหมอสมุนไพรและปราชญภูมิปญญา เชี่ยวชาญและหลักการทางวิทยาศาสตร ไดตํารับยาสมุนไพรถายพยาธิในลูกโคและกําจัดเห็บโค ขอคนพบไดรูปแบบการเลี้ยงโคโดยอาศัยภูมิปญญาไทย และสามารถนํามาสรางบทเรียน ภูมิปญญาดาน การเลี้ยงดูโคเนื้อขุนสําหรับเกษตรกรตอไป en_US
dc.description.sponsorship The objectives of this research were: 1) to develop beef cattle raising career of the farmers in Ban Siliamjaroen, Salangpan Sub-district, Lamplaimat District, Buriram Province. 2) to study beef cattle raising method integrating by local wisdom that can improve products and decrease production cost in terms of beef selection, feeding, management, and disease prevention of local wisdom experts, and 3) to study local wisdom value which develop beef cattle raising of farmers and construct cattle raising lessons for farmers. Target groups were selected by purposive sampling that were consisted of 34 local experts in beef cattle raising in Buriram, 5 herbalists / local wisdom experts in herbal plants, and 12 beef cattle raising farmers. Research instruments were semi-structured interview and collected the data by in-depth interviewing and focus group. Quantitative data was analyzed by using frequency, mean, average, and standard deviation. Qualitative data was concluded through content analysis. The results revealed that beef cattle raising farmer’s principle career was rice cultivation and beef cattle raising was a second career. They raised crossbred Native-Charolais cattle by using local wisdom transmission and increased their cattle by artificial insemination. Feeding cattle by natural grazing and seldom supplemented with concentrates and did vaccination. They sold the fattening cattle via middle person by visual evaluation the body weight and conformation. They also used herbal plants for curing the disease. Herbal recipes have been proven as valuable by herbalists, local wisdom experts and scientific principles using for deworming in calves and eradicating ticks in cattle. The findings were valuable knowledge in beef cattle raising that can be constructed the local wisdom lessons in beef cattle raising for farmers. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject โคเนื้อขุน ภูมิปญญาทองถิ่น อาชีพการเลี้ยงโคขุน en_US
dc.title การพัฒนาการประกอบอาชีพเลี้ยงโคขุนผสมผสานการใช ภูมิปญญาทองถิ่น กรณีศึกษา กลุมผูเลี้ยงโคขุนบานสี่เหลี่ยมเจริญ ตําบลแสลงพัน อําเภอลําปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย en_US
dc.title.alternative The Development of Farmer’s Fattening Beef Cattle Raising Career integrating by Local Wisdom : Case Study of Ban Siliamjaroen, Salangpan Sub-district, Lamplaimat District, Buriram Province. en_US
dc.type Research en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics