ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

วัยเด็กตอนต้น (Early Childhood)

Show simple item record

dc.contributor.author ฐพัชร์, คันศร
dc.date.accessioned 2022-03-19T18:52:47Z
dc.date.available 2022-03-19T18:52:47Z
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/8190
dc.description วัยเด็กตอนต้น (early childhood) หรือวยัก่อนเรียน (pre-school age) เป็นวยัที่มีอายุอยใู่ นช่วง 2-6 ปี เด็กวยัน้ีจะมีพฒั นาการทางด้านร่างกายช้าลงกว่าช่วง 2 ปีแรก แต่จะมีพฒั นาการทางดา้นสติปัญญาอย่าง รวดเร็วท้งัในเรื่องการใชภ้าษาและการเรียนรู้ต่างๆ วยัน้ีพฒั นามาจากวยัทารกเด็กเริ่มรู้จกับุคคล สิ่งแวดลอ้ ม สิ่งของ สามารถใชอ้วยัวะส่วนต่าง ๆ ของร่างกายไดห้ลากหลาย เริ่มเขา้ใจลกั ษณะการสื่อสารและสามารถ ใช้ภาษาได้มากข้ึน จากสิ่งที่ได้เรียนรู้ใหม่และการมีความสามารถดังกล่าวกระตุน้ ให้เด็กตอ้งการแสดง ความสามารถที่มีอยวู่ ยัน้ีจึงมีลกั ษณะเด่นคือชอบแสดงความสามารถเด็กวยัน้ีเป็นวยัที่กา ลงัน่ารักและน่าชงั ไม่สู่จะตามใจใครง่ายๆ วยัน้ีจึงไดร้ับสมญาวา่ วยัช่างปฏิเสธ(Negativistic Period) ที่เป็นเช่นน้ีเพราะ เพิ่ง พน้จากวยัทารกประกอบมีความสามารถทางกายเพิ่มมากข้ึนจึงตอ้งการแสดงความสามารถ และมีการติดต่อ กบั บุคคลต่างๆ มากข้ึน การติดต่อสังสรรคก์ บัผอู้ื่นเป็นการเพิ่มและเร้าให้มีความตองการเป็ นตัวของตัวเอง ้ มากข้ึน ชอบอาสาช่วยเหลือ ช่างประจบ ซุกซน อยากรู้อยากเห็น ช่างถาม มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ชอบ ปฏิเสธค่อนขา้งด้ือ ตอ้งการมีอิสระ เป็นตวัของตวัเอง เริ่มรู้จกั พ่ึงพาตนเองและไม่ยอมรับความช่วยเหลือ จากผูใ้หญ่โดยเฉพาะในการปฏิบตัิกิจวตัรประจา วนั การทา กิจกรรม การเรียนรู้เหตุผล สิ่งใดผิดถูก การ เรียนรู้วิธีแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง นอกจากน้ีเด็กจะแสดงความรู้สึกนึกคิดของตนจากการพูดคุย การ แสดงออก ความเฉลียวฉลาด ซ่ึงจะเป็นเอกลกั ษณ์ของเด็กแต่ละคนด้วย ดงัน้นั จึงพบว่าเด็กวยัน้ีจะมีการ เปลี่ยนแปลงด้านบุคลิกภาพและมีพฒั นาการดา้นจริยธรรมอยา่ งชดัเจน พฒั นาการที่สา คญั ในเด็กวยัน้ีมีดงัน้ี en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject พัฒนาการ วัยเด็กตอนต้น ปัจจยัที่มีอิทธิพลต่อพฒั นาการ วธิีการส่งเสริมพฒั นาการ en_US
dc.title วัยเด็กตอนต้น (Early Childhood) en_US
dc.type Teaching Documents en_US
dc.contributor.emailauthor thapach.ks@bru.ac.th en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics