ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

สภาพการดำเนินงานห้องเรียนแห่งคุณภาพของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุพัตรา รักการศิลป์ en_US
dc.contributor.advisor ศิราณี จุโฑปะมา en_US
dc.contributor.author วัชรพล, เที่ยงปา
dc.date.accessioned 2021-11-16T03:56:33Z
dc.date.available 2021-11-16T03:56:33Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/8008
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับสภาพการดำเนินงาน ห้องเรียนแห่งคุณภาพของโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 33และ2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับสภาพการดำเนินงานห้องเรียนแห่งคุณภาพของโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จำแนกตามประสบการณ์ในการทำงานและขนาดโรงเรียนกลุ่มตัวอย่างเป็นครู จำนวน 345 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการดำเนินงานห้องเรียนแห่งคุณภาพของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับสภาพการดำเนินงานห้องเรียนแห่งคุณภาพของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จำแนกตามประสบการณ์ทำงานโดยรวมไม่แตกต่างกัน 3. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับสภาพการดำเนินงานห้องเรียนแห่งคุณภาพของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จำแนกตามขนาดโรงเรียน โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 en_US
dc.description.abstract The purposes of this study were 1) to study the opinions concerning states of quality classroom in schools under Secondary Educational Service Area Office 33 from teachers; and2) to compare the opinions concerningstates of quality classroom in schools under Secondary Educational Service Area Office 33 from teachers according to work experience and school size. The samples consisted of 345people selected by using simple random sampling method. The instrument used to collect the data was questionnaire and the data were analyzed by using percentage, mean, Standard Deviation (S.D), t - test (Independent Samples) and one-way ANOVA. The results revealed that: 1. The states of quality classroom in schools under Secondary Educational Service Area Office 33 was at a high level. 2. The result from comparing opinions concerning states of quality classroom in schools under Secondary Educational Service Area Office 33which were categorized by work experience wasn’t found the difference. 3. The result from comparing opinions concerning states of quality classroom in school under Secondary Educational Service Area Office 33 which were categorized by school size was found that there was statistically significant difference at 0.5 level. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject สภาพการดำเนินงานห้องเรียนแห่งคุณภาพของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 en_US
dc.title สภาพการดำเนินงานห้องเรียนแห่งคุณภาพของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 en_US
dc.title.alternative STATES OF QUALITY CLASSROOM MANAGEMENT IN SCHOOLS UNDER SECONDARYEDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 33 en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics