ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ความวิตกกังวลในการพูดภาษาอังกฤษและการลดความวิตกกังวลของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏุบุรีรัมย์=

Show simple item record

dc.contributor.advisor Kampeeraphab Intanoo en_US
dc.contributor.advisor Saowarot Ruangpaisan en_US
dc.contributor.author Tatiya, tanuanram
dc.date.accessioned 2021-11-16T02:52:17Z
dc.date.available 2021-11-16T02:52:17Z
dc.date.issued 2020
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/7979
dc.description.abstract The purposes of this study were 1) to find out the English speaking anxiety of English and Business English major students, 2) to compare English speaking anxiety between English major students and Business English major students; and 3) to explore the ways which English and Business English major students usedto reduce their English speaking anxiety.The quantitative data were collected from a questionnaire responded by 128 first year English and Business English major studentswho were studying in Introduction to English Listening Speaking Course.The sample were selected by usingKrejcie and Morgan’s sample size determination table by using the simple random sampling. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and t-test. For qualitative data, semi-structure interview was implemented with10 students which were selected by using purposive sampling technique. The samples were divided into 5 students from English majors and 5 students from Business English majorswho got the least grade point in the Introduction to English Listening Speaking Course. The data from the interview were analyzed by using open and axial coding techniques proposed by Punch (2005).The results of the study were as follows: 1)English speaking anxiety of English and Business English major students was at a moderate level. The highest English speaking anxiety of English and Business English major students was Fears of Negative Evaluate Anxiety, followed by Communication Anxiety and Test Anxiety, respectively.2) There was no statistically significant difference in English speaking anxiety regarding Fears of Negative Evaluate Anxiety and Communication Anxiety. However, the statistically significant difference at .05 level was found in Test Anxiety, and 3) the result of semi-structured interview concerning the ways of reducing English speaking anxiety used by the samples were Preparation which received the highest frequency, followed by Positive Thinking, and Relaxation, respectively. en_US
dc.description.abstract การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความวิตกกังวลของการพูดภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษและสาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 2) เพื่อเปรียบเทียบความวิตกกังวลในการพูดภาษาอังกฤษระหว่างนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษและนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ และ 3) สำรวจวิธีการลดความวิตกกังวลในการพูดภาษาอังกฤษ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ และสาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ จำนวน 128 คนที่เรียนในรายวิชาการฟัง-พูดภาษาอังกฤษเบื้องต้น โดยใช้ตารางของเครซีและมอร์แกนและวิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและที่ใช้เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกันกลุ่มตัวอย่างที่ใช้สำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ได้แก่ นักศึกษา จำนวน 10 คน แบ่งเป็นนักศึกษาสาขาวิชาเอกภาษาอังกฤษจำนวน 5 คน และนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ จำนวน 5 คน ที่ได้เกรดน้อยที่สุดในรายวิชาการฟัง-พูดภาษาอังกฤษเบื้องต้น โดยใช้เทคนิคการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ถูกวิเคราะห์โดยใช้เทคนิคการกำหนดรหัสเพื่อจำแนกข้อมูล (Open Coding) และ การจำแนกข้อมูลออกเป็นกลุ่ม ๆ หรือเป็นหัวข้อย่อย (Axial Coding)ของพันช์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับความวิตกกังวลในการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษและสาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ อยู่ในระดับปานกลาง สาเหตุที่พบมากที่สุดคือ ความวิตกกังวลด้านความกลัวการถูกประเมินทางลบ ตามด้วยความวิตกกังวลในการสื่อสาร และความวิตกกังวลในการทำแบบทดสอบ ตามลำดับ 2) ไม่มีความวิตกกังวลในการพูดภาษาอังกฤษแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เกี่ยวกับความกลัวเชิงลบประเมินความวิตกกังวลและความวิตกกังวลในการสื่อสาร อย่างไรก็ตาม มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05พบในความวิตกกังวลในการทำแบบทดสอบ และ 3) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง พบว่า วิธีการลดความวิตกกังวลของการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาพบมากที่สุด คือ การเตรียมความพร้อม การคิดเชิงบวกและการผ่อนคลายตามลำดับ en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject English speaking anxiety and anxiety reduction of English and Business English Major Students at Buiraram Rajabhat University en_US
dc.title ความวิตกกังวลในการพูดภาษาอังกฤษและการลดความวิตกกังวลของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏุบุรีรัมย์= en_US
dc.title.alternative English speaking anxiety and anxiety reduction of English and Business English Major Students at Buiraram Rajabhat University en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline English en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.name Master of Arts en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics