ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ผลการจัดการเรียนรู้เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยม ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ของ Underhill ร่วมกับเทคนิคการวาดรูปบาร์โมเดล ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Show simple item record

dc.contributor.advisor นฤมล ศักดิ์ปกรณ์กานต์ en_US
dc.contributor.advisor เทพพร โลมารักษ์ en_US
dc.contributor.author กฤษดา, บุญโสม
dc.date.accessioned 2021-11-15T04:09:35Z
dc.date.available 2021-11-15T04:09:35Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/7931
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายของการวิจัย 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียน2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยม ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ของ Underhill ร่วมกับเทคนิคการวาดรูปบาร์โมเดล ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 4) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนวัดบ้านเมืองโพธิ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 28 คนซึ่งได้มาจากวิธีการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยม ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ของ Underhill ร่วมกับเทคนิคการวาดรูปบาร์โมเดลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 16 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ 3) แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์เป็นแบบอัตนัย จำนวน 5 ข้อ ตามทฤษฎีการคิดวิเคราะห์ของมาซาร์โน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมสติด้วยสถิติการหาค่า t แบบ dependent sample t-test และ One sample t-test ผลการวิจัย สรุปได้ว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยการจัดการจัดการเรียนรู้เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยม ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ของ Underhill ร่วมกับเทคนิคการวาดรูปบาร์โมเดลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยการจัดการจัดการเรียนรู้เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยม ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ของ Underhill ร่วมกับเทคนิคการวาดรูปบาร์โมเดลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนด้วยการจัดการจัดการเรียนรู้เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยม ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ของ Underhill ร่วมกับเทคนิคการวาดรูปบาร์โมเดลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลังเรียนด้วยการจัดการจัดการเรียนรู้เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยม ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ของ Underhill ร่วมกับเทคนิคการวาดรูปบาร์โมเดลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ผลการจัดการเรียนรู้เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยม ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ของ Underhill ร่วมกับเทคนิคการวาดรูปบาร์โมเดล ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 en_US
dc.title ผลการจัดการเรียนรู้เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยม ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ของ Underhill ร่วมกับเทคนิคการวาดรูปบาร์โมเดล ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 en_US
dc.title.alternative Effects of Learning management on Addition, Subtraction, Multiplication And Division Of Decimals Based On Constructivist Theory Of Underhill with Bar Model Technique Towards Learning Achievement And Analytical Thinking Ability Of Grade 6 Students en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics