ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ผลการใช้ชุดการสอน เรื่องระบบในร่างกายนุษย์โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น (5Es) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

Show simple item record

dc.contributor.author จุฑารัตน์, หรีกประโคน
dc.date.accessioned 2017-09-02T05:31:09Z
dc.date.available 2017-09-02T05:31:09Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/706
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาประสิทธิภาพของแบบฝึกหัดทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามเกณฑ์ 75/75 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแบบฝึกหัดทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบ STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 3) ศึกษาดัชนี ประสิทธิผลของการเรียนด้วยแบบฝึกหัดทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบ STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกหัดทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1/1 โรงเรียนนางรองพิทยาคม อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ภาคเรียนที่ 1 การศึกษา 2557 จำนวน 40 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบฝึกหัดทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 8 เล่ม 2) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 10 แผน 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นแบบชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 40 ข้อ โดยมีค่าความยากง่ายตั้งแต่ 0.47 ถึง 0.79 มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อตั้งแต่ 0.20 ถึง 0.89 ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ เท่ากับ 0.87 และ 4) แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกหัดทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่องการอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับจำนวน 10 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน E1/E2 และ E.I. ทดสอบสมมติฐานโดยใช้ค่าสถิติ Dependent Samples t-test ผลการวิจัยพบว่า 1.ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.78/81.31 2.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .01 3.ดัชนีประสิทธิผลของนักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกหัดทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่าเท่ากับ 0.5577 แสดงว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น 0.5577 หรือคิดเป็นร้อยละ 55.77 4.ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกหัดทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาประสิทธิภาพของแบบฝึกหัดทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามเกณฑ์ 75/75 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยแบบฝึกหัดทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบ STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 3) ศึกษาดัชนี ประสิทธิผลของการเรียนด้วยแบบฝึกหัดทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบ STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกหัดทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1/1 โรงเรียนนางรองพิทยาคม อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ภาคเรียนที่ 1 การศึกษา 2557 จำนวน 40 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบฝึกหัดทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 8 เล่ม 2) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 10 แผน 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นแบบชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 40 ข้อ โดยมีค่าความยากง่ายตั้งแต่ 0.47 ถึง 0.79 มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อตั้งแต่ 0.20 ถึง 0.89 ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ เท่ากับ 0.87 และ 4) แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกหัดทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่องการอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับจำนวน 10 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน E1/E2 และ E.I. ทดสอบสมมติฐานโดยใช้ค่าสถิติ Dependent Samples t-test ผลการวิจัยพบว่า 1.ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.78/81.31 2.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .01 3.ดัชนีประสิทธิผลของนักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกหัดทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่าเท่ากับ 0.5577 แสดงว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น 0.5577 หรือคิดเป็นร้อยละ 55.77 4.ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกหัดทักษะวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราฃภัฏบุรีรัมย์. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ en_US
dc.title ผลการใช้ชุดการสอน เรื่องระบบในร่างกายนุษย์โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้น (5Es) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 en_US
dc.title.alternative The Effects of Instructional Packages on the Topic of Human Body System using the Inquiry Cycle Learning Model (5Es) for Matthayomsuksa 2 Students en_US
dc.type Thesis en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics