ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ผลของโปรแกรมการฝึกสติแบบวิภาษวิธีต่อการปรับตัวของนิสิตพยาบาลชั้นปีที่ 1

Show simple item record

dc.contributor.author เตชะนิรัติศัย, วีระชัย
dc.date.accessioned 2020-09-10T02:40:18Z
dc.date.available 2020-09-10T02:40:18Z
dc.date.issued 2020-03-28
dc.identifier.citation วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2563 หน้า 348 - 354 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6954
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental research designs) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลของโปรแกรมการฝึก สติแบบวิภาษวิธีต่อการปรับตัวของนิสิตปริญญาตรีระยะก่อนทดลอง หลังทดลอง กลุ่มตัวอยางได้แก่ นิสิตระดับปริญญาตรี ชั้นปี ที่ 1 ของมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น บุรีรัมย์ ปี การศึกษา 2561 ที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการวิจัย เพื่อพัฒนาสติ จำนวน 76 คน (Simple random sampling) เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 38 คน โดยกลุ่มทดลองจะได้รับโปรแกรมการฝึกสติแบบวิภาษวิธี จำนวน 4 วัน วันละ 60 นาที แต่ละวันมีขั้นตอนที่แตกต่างกัน ส่วนกลุ่มควบคุมไม่ได้รับโปรแกรมใดๆ การทดลองแบ่งเป็น 2 ระยะ ได้แก่ ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ยร้อยละ และสถิติ Independent t- test โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่ามีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการทดลองและระยะเวลาการทดลองอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) นิสิตที่ได้รับโปรแกรมการฝึก สติแบบวิภาษวิธี มีคะแนนเฉลี่ยการปรับตัวในระยะหลังการทดลองสูงกวานิสิตกลุ่มควบคุมอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) นิสิตที่ได้รับโปรแกรมการฝึกสติแบบวิภาษวิธี มีคะแนนเฉลี่ยการปรับตัว และนิสิตที่ได้รับโปรแกรมการฝึกสติแบบวิภาษวิธี มีคะแนนเฉลี่ยการปรับตัว ในระยะหลังการทดลอง สูงกว่าระยะก่อนการทดลอง อยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) สรุปได้ว่าโปรแกรมการฝึกสติแบบวิภาษวิธี มีประสิทธิภาพในการช่วยให้นิสิตชั้นปี ที่ 1 มหาวิทยาลัยเวสเทิร์นบุรีรัมย์ มีการปรับตัวได้ดีขึ้นจริง This research methodology was taken Quasi-Experimental designs. The study aimed to compare effect of Dialectical Mindfulness Practice Program on adaptation among bachelor degree students, pre-post experimental intervention. The samples were First year Bachelor Nursing Students of Western University, Buriram Campus in academic year 2018 who volunteer to be participants in the program to develop mindfulness. Total 76 cases recruited by Simple random sampling technique into experimental and control group and each group consist of 38 cases. The experimental group received Dialectical Mindfulness Practice Program for 4 days, 60 minutes daily, and different step for each day while control group without any treatment given. The experiment divided into 2 phases: pre and post intervention. Statistical analyzing data by frequency, mean, percentage and compare mean by Independent t- test, significant level set at .05 The results found thatthere was interaction between method and duration of experiment significantly(p < .05) The students given Dialectical Mindfulness Practice Program had average adaptation score at post intervention higher than the control group significantly (p < .05) Thus, conclusion support that Dialectical Mindfulness Practice Program was efficiency to enhance first year students of Western University, Buriram Campus on adaptation pragmatically. Keywords: Dialectical Behavior Therapy Program / adaptation/ First year Bachelor Nursing Students en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.title ผลของโปรแกรมการฝึกสติแบบวิภาษวิธีต่อการปรับตัวของนิสิตพยาบาลชั้นปีที่ 1 en_US
dc.type Research en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics