ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการน้ำโดยภาคีเครือข่ายชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยังยืนของจังหวัดอุบลราชธานี

Show simple item record

dc.contributor.author สราวุธ, ชมบัวทอง
dc.contributor.author นพพร, จันทรนำชู
dc.date.accessioned 2020-09-02T02:54:32Z
dc.date.available 2020-09-02T02:54:32Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation รมยสาร,ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 ( ก.ย.-ธ.ค. 2561 ): หน้า 379-395 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6909
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาสภาพการณ์การบริหารจัดการน้ำโดยภาคีเครือข่ายชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของจังหวัดอุบลราชธานี 2) พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการน้ำโดยภาคีเครือข่ายชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของจังหวัดอุบลราชธานี 3) ทดลองใช้รูปแบบการบริหารจัดการน้ำโดยภาคีเครือข่ายชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของจังหวัดอุบลราชธานี 4) ประเมินรูปแบบการบริหารจัดการน้ำโดยภาคีเครือข่ายชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของจังหวัดอุบลราชธานี โดยกำหนดระเบียบวิธีวิจัยเป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) สัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 86 ราย ในพื้นที่อำเภอเมืองและอำเภอวารินชำราบ 14 ชุมชน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก สนทนากลุ่ม แบบสอบถาม แบบสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา วิธีการดำเนินการวิจัยมี 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพการณ์การบริหารจัดการน้ำโดยภาคีเครือข่ายชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของจังหวัดอุบลราชธานี การประเมินข้อมูลความต้องการจำเป็นและองค์ประกอบในการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการน้ำโดยภาคีเครือข่ายชุมชน ขั้นตอนที่ 2 พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการน้ำโดยภาคีเครือข่ายชุมชนโดยผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือวิจัยก่อนนำไปใช้ และสัมภาษณ์เชิงลึก สนทนากลุ่ม เพื่อพัฒนาร่างรูปแบบการบริหารจัดการน้ำภาคี เครือข่ายชุมชน ขั้นตอนที่ 3 ทดลองใช้ มีการประชุมระดมสมองเพื่อน าร่างรูปแบบการบริหารจัดการน้ำโดยภาคีเครือข่ายชุมชนไปทดลองใช้กับกลุ่มทดลอง หลังจากทดลองใช้ร่างรูปแบบ มีการประเมินและปรับปรุงร่างรูปแบบที่ได้รับโดยมีผู้เชี่ยวชาญรับรองรูปแบบ ขั้นตอนที่ 4 การประเมิน ปรับปรุงรูปแบบและองค์ประกอบของรูปแบบการบริหารจัดการน้ำโดยภาคีเครือข่ายชุมชน ผลการวิจัยพบว่า สภาพการณ์การบริหารจัดการน้ำโดยภาคีเครือข่ายชุมชนของจังหวัดอุบลราชธานี แบ่งเป็น 4 มิติ คือ 1) การบริหารจัดการน้ำเพื่อป้องกันน้ำท่วมน้ำแล้ง 2) การบริหารจัดการน้ำเพื่อการใช้น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค 3) การบริหารจัดการน้ำเพื่อการใช้น้ำทางการเกษตร 4) การบริหารจัดการน้ำเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำและพบว่ารูปแบบการบริหารจัดการน้ำโดยภาคีเครือข่ายชุมชนอย่างยั่งยืน มี 9 องค์ประกอบ คือ 1) การมีส่วนร่วม 2) ภาคีเครือข่ายชุมชนที่เข้มแข็ง 3) ความเข้มแข็งของชุมชน 4) การเรียนรู้เพื่อพึ่งพา 5) ภาวะผู้นำ 6) ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อรับมือกับน้ำ7) การสื่อสารแบบมีส่วนร่วม 8) การอนุรักษ์สายน้ำอย่างยั่งยืน 9) การส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน ค สำคัญ: รูปแบบ, ภาคีเครือข่าย, บริการจัดการน้ำ, ชุมชน en_US
dc.description.abstract The study consisted of four main objectives: 1) study the conditions and requirements of water management community participation for the sustainable development in Ubon Ratchathani province, 2) develop the model for water management community participation for the sustainable development in Ubon Ratchathani province, 3) adoption the water management community participation partners to do the development and 4) evaluation the water management community participation for the sustainable development in Ubon Ratchathani province. The research methodology is Research and Development Approach. The study uses many methods to collect data, conducted by using the questionnaires, the qualitative research using in-depth interview 86 key informants in Ubon Ratchathani district and Warin Chamrap district (14 communities). The research collections; in-depth interviews, discussion groups, participatory observation, questionnaires, and data content analysis. This research investigated in the four processes, 1) study the circumstances and needs of water management community partners for the sustainable development in this province. Evaluation the data requirements necessary elements and development the water management model by community partners, 2) check the accuracy research instruments before try out, prepare in-depth interview discussion for key informants and develop the water management model by experts, community partners for the sustainable development, 3) adoption, brainstorming the water management model by community partners to adopt the experimenters, evaluating and improving the model that has been adopted by a specialized format and 4) evaluation, rating improved model and summarize elements of water management model by community partners for the sustainable development. The findings revealed that four conditions and requirements of water management community participation for the sustainable development in Ubon Ratchathani province: 1) to prevent flooding and water drought reduction, 2) to use water consumption, 3) to manage agriculture and 4) to conserve the Mun River. Nine important elements in the dissertation: 1) participation, 2) community network, 3) community strength, 4) self-reliance, 5) leadership, 6) local wisdom, 7) participatory communication, 8) sustainable conservation and 9) community economy encouragement. Keywords: model development, participation, community, water management en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการน้ำโดยภาคีเครือข่ายชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยังยืนของจังหวัดอุบลราชธานี en_US
dc.title การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการน้ำโดยภาคีเครือข่ายชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยังยืนของจังหวัดอุบลราชธานี en_US
dc.title.alternative The Model Development of Water Management Community Participation for Sustainable Development in Ubon Ratchathani Province en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics