ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ความเป็นไปได้ในการใช้กระบวนการยุติธรรมทางเลือกในศาลรัฐธรรมนูญ

Show simple item record

dc.contributor.author ภูมิ, มูลศิลป์
dc.date.accessioned 2020-09-02T02:31:27Z
dc.date.available 2020-09-02T02:31:27Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 16 ฉบับ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2561) : หน้า 31-48 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6895
dc.description.abstract การประกาศใชรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 แสดงให้เห็นถึง พัฒนาการเชิงอำนาจหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะการให้บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือ เสรีภาพที่รัฐธรรมนูญรับรองสามารถยื่นคำร้องว่าการกระทำนั้น ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ ซึ่งกระบวนการยุติธรรมทางเลือกอาจนำมาปรับใช้ในกรณีดังกล่าวได้หากเกิดปัญหาในอนาคต เนื่องจากกระบวนการยุติธรรมทางเลือกน้ั้น เป็นเครื่องมือในการช่วยเหลือคู่กรณีใหสามารถตกลงยุติ ข้อพิพาทโดยคงความสัมพันธ์ไว้ ประหยัด และมีความรวดเร็ว en_US
dc.description.abstract Promulgation of the Constitution of the Kingdom of Thailand reflects the development of the Constitutional Court especially a person whose rights or liberties guaranteed by the Constitution are violated, has the right to submit a petition to the Constitutional Court for a decision on whether such act is contrary to or inconsistent with the Constitution. The Alternative Dispute Resolution (ADR) may be applied in case of problems arise in the future since ADR is a mechanism to support parties to end conflicts and maintain relationship, economize, and save time. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ความเป็นไปได้ในการใช้กระบวนการยุติธรรมทางเลือกในศาลรัฐธรรมนูญ en_US
dc.title ความเป็นไปได้ในการใช้กระบวนการยุติธรรมทางเลือกในศาลรัฐธรรมนูญ en_US
dc.title.alternative Possibility to Apply Alternative Dispute Resolution in the Constitutional Court en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics