ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

รูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวิปัสสนากรรมฐานในพื้นที่ จังหวัดขอนแก่นและจังหวัดมหาสารคาม

Show simple item record

dc.contributor.author ฉลอง, พันธ์จันทร์
dc.date.accessioned 2020-09-01T08:14:24Z
dc.date.available 2020-09-01T08:14:24Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 16, ฉบับพิเศษ (ม.ค. - เม.ย. 2561) : หน้า 379 - 397 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6875
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน และรูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวิปัสสนากรรมฐาน กรณีของจังหวัดขอนแก่นและจังหวัดมหาสารคาม เป็นการศึกษาแบบผสมผสานทั้งเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ด้วยการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการประชุมกลุ่มย่อยกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจำนวน 30 ท่าน โดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึกร่วมกับการสังเกตแบบมีส่วนรวม และนำข้อมูลทั้งสองส่วนมาวิเคราะห์เนื้อหาและข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ในพื้นที่จังหวัดขอนแก่นและจังหวัดมหาสารคาม มีหลักการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานที่สำคัญ 4 ประเภท คือ 1) ยุบ-พอง 2) พุทโธ 3) เคลื่อนไหว และ 4) โกเอนก้า สำหรับการท่องเที่ยวเชิงวิปัสสนากรรมฐานในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น มีความโดดเด่นด้านหลักสูตรทั้งสำหรับชาวไทยและหลักสูตรนานาชาติและในพื้นที่จังหวัด มหาสารคามมีหลักสูตรเฉพาะชาวไทยเท่านั้น ซึ่งทั้ง 2 แห่ง มีปฏิทินการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานที่หลากหลายตั้งแต่ 3 ถึง 30 วัน และมีรูปแบบการจัดการ 2 อย่างคือรูปแบบการจัดการโดยคณะกรรมการทั้งฝ่ายสงฆ์และฝ่ายฆราวาสและรูปแบบการจัดการแบบ “บวร” โดยใช้ระบบค่านิยมองค์กร ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ ปรัชญา เป้าหมายและวัตถุประสงค์" en_US
dc.description.abstract This research aims to study the concept of Buddhist meditation practice and model of tourism management towards Buddhist meditation in the area of Khon Kaen and Mahasarakham provinces. The research was completed by applying mixed research method. The quantitative analysis was done by using questionnaire from 400 samples with simple sampling. The data were analyzed using descriptive statistics: percentage, mean, and standard deviation. For qualitative research, an analysis was conducted by using data attained from focus-group meeting with 30 participants, by using in-depth interviews and participatory observation. Both data were analyzed for content and data with descriptive statistics. There were 4 findings in the important concept of Buddhist meditation practice in the area of Khon Kaen and Mahsarakham provinces: 1) “Yub-Phong”, 2) “Bud-dho”, 3) “Movement” and 4) “Go-enka. The Buddhist meditation tourism in the area of Khon Kaen province is unique for both Thais and international programs. But in the area of Mahasarakham province, There is only Thais program. Both have a calendar of Buddhist meditation practice ranging from 3 to 30 days. There are two types of management styles, the one managed by the clergy and secular committees and the "corporate" system by using the core value system consisted of vision, philosophy, goals, and objectives. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject รูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวิปัสสนากรรมฐานในพื้นที่ จังหวัดขอนแก่นและจังหวัดมหาสารคาม en_US
dc.title รูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวิปัสสนากรรมฐานในพื้นที่ จังหวัดขอนแก่นและจังหวัดมหาสารคาม en_US
dc.title.alternative Model of Tourism Management towards Buddhist Meditation in the Area of Khon Kean and Mahasarakham Provinces en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics