ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

นัยทางสังคมผ่านภาษาแสดงอารมณ์ขันที่ปรากฏในหนังตะลุงคณะน้องเดียวลูกทุ่งวัฒนธรรม

Show simple item record

dc.contributor.author มรกต, เรืองมา
dc.contributor.author เมธาวี, ยุทธพงษ์ธาดา
dc.contributor.author รุจิรา, เส้งเนตร
dc.date.accessioned 2020-09-01T08:09:22Z
dc.date.available 2020-09-01T08:09:22Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2561 ) หน้า : 131 -147 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6873
dc.description.abstract บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานัยทางสังคมผ่านภาษาสื่ออารมณ์ขันที่ปรากฏ ในหนังตะลุงน้องเดียวลูกทุ่งวัฒนธรรม ข้อมูลที่นำมาใช้วิเคราะห์ได้มาจากแผ่นการบันทึกภาพ และเสียงบทสนทนาของตัวละครในหนังตะลุงชุด หลกฮาภาษาหนังเดียว เป็นจำนวน 16 ชุด ผลการศึกษาพบว่าภาษาเป็นเครื่องมือที่แสดงนัยทางสังคมซึ่งเกิดจากการน าเสนอกลุ่มบุคคลตกเป็นเป้าล้อเลียนมี 8 กลุ่มดังนี้ ผู้มีความผิดปกติทางร่างกายที่ถูกตอกย้ำความด้อยกว่าและการไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสมจากคนปกติ สามีภรรยาที่มีความขัดแย้งต่อกัน นักการเมืองที่ถูกน าเสนอให้ไม่สามารถแก้ปัญหาของประชาชน ตัวละครที่ควรเป็นแบบอย่างถูกน าเสนอให้เป็นคนโง่เขลา ขี้โกง ไม่น่าเชื่อถือ เด็กที่แสดงพฤติกรรมด้านลบต่อผู้ใหญ่ กลุ่มชาติพันธุ์ถูกน าเสนอให้มีความบกพร่องในการใช้ภาษา กลุ่มคนที่ทำผิดศีลธรรมและผิดขนบความเชื่อต่าง ๆ ที่แสดงถึงการต่อต้านความถูกต้องและเลือกจะกระทำสิ่งผิด และวัยรุ่นที่ถูกน าเสนอในมุมมองของผู้ใหญ่ว่าเป็นผู้สร้างปัญหาต่างๆ en_US
dc.description.abstract The purpose of this research was to study social implication through the language conveys humors in Shadow Play of Nongdeaw Lookthung Watthanatham Group. The material and data for this research were the recordings of live performances of shadow play of Nongdeaw Lookthung Watthanatham Group. The study found that the language was the tool that showed social implication from the group of persons . There were 8 groups: Persons has physical disorders that was reinforced defect and unsuitably took care from a normal person. Husband and wife had confliction. Politicians could not solve problems. Honorable persons were represented as stupid trick and untrustworthy persons. Children showed negative behavior to adult. Ethnic minorities were presented to have defect in using language. Immoral persons resist a tradition and teens made problem in adult’s opinion. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject นัยทางสังคมผ่านภาษาแสดงอารมณ์ขันที่ปรากฏในหนังตะลุงคณะน้องเดียวลูกทุ่งวัฒนธรรม en_US
dc.title นัยทางสังคมผ่านภาษาแสดงอารมณ์ขันที่ปรากฏในหนังตะลุงคณะน้องเดียวลูกทุ่งวัฒนธรรม en_US
dc.title.alternative Social Implication through the Language Conveys Humors in Shadow Play of Nongdeaw Lookthung Watthanatham Group en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics