ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

สภาพการบริหารสถานศึกษาพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3

Show simple item record

dc.contributor.advisor ฐิตาภรณ์ เวียงวิเศษ en_US
dc.contributor.advisor ศรีเพ็ญ พลเดช en_US
dc.contributor.author จรัสศรี, โพธิ์เหมือน
dc.date.accessioned 2020-08-18T05:06:42Z
dc.date.available 2020-08-18T05:06:42Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6851
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบสภาพการบริหารการศึกษาพอเพียงสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 จำแนกตามประสบการณ์ การปฎิติบัติงานและขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่าที่ใช้ในงานวิจัย ได้มาจากการสุ่มตามระดับชั้นอย่างเป็นสัดส่วนตามขนาดของโรงเรียน เป็นครูในโรงเรียนขนาดเล็ก จำนวน 61 คน โรงเรียนขนาดกลาง 223 คน โรงเรียนขนาดใหญ่ จำนวน 59คน รวมทั้งสิ้น 343 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมี 3 ลักษณะ ได้แก่ แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส่วนประมานค่า 5 ระดับ และแบบปลายเปิด ที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.98 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยใช้การทดสอบค่าทีและความวิเคราะห์แปรปรวนทางเดียวและการทดสอบรายคู่ ตามวิธีการของเชพเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า 1.ความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพการบริหารสถานศึกาพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 โดยรวมและรายทุกด้านอยู่ในระดับมาก 2.การปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพการบริหารสถานศึกาพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 จำแนกตามประสบการณ์การปฏิบัติงาน โดยรวมและรายด้าน ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ด้านการจัดกิจกรรมที่ระดับ .05 จำแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยรวมและรายด้านทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คำสำคัญ : การบริหารสถานศึกษา สถาศึกษาพอเพียง0 en_US
dc.description.abstract This research aimed to study and ecouparp the opinions about states of administration of The sufficiency school under Buriram primary Education Service Area Office 3. Distributed by the teachers classibed by working experiences and school Sample warp 343 [Partnel, 61 teachers fron small-size school 223 teachers from medium -size school and 59 teachers from big-size schools, elected by proportional. Stratified random sampling. The research instrument used wasa -3 part questionnairs, Including thecklist, 5 rating Sale, and open-ended form with the reliability 098, The statistic used were frequency, percentage,mena and standard deviation The hypotheses were tested by t-test one-way analysis of Vanance, and pair comparisons by Scheffe method tes. The findins were as follows: 1) the opinios on the stats of administration of the sufficiency School under Buriram primary Education Service Area Office 3, already mntioned both in overall and each aspect were all a high level; 2) The comparison opานเons on he states of administration of the sufficiency school under Buriram Phimary Education Service Area Office 3 already working experiences in four aspects include administratiรา management, curriculum d instruction, Student development management activity, and chool personnel development were statistical signiical different at the level of. 05. When classicd by school size as awhole and each aspect it was significant different at the level of. 05 Keyword : Schoo l Administration, Sufficiency School l Administration en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject สภาพการบริหารสถานศึกษาพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 en_US
dc.title สภาพการบริหารสถานศึกษาพอเพียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 en_US
dc.title.alternative States of administration of the administration Schoo l under Buriram primary Education Service Area Office 3 en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline การบริหารการศึกษา en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics