ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2553) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.advisor มาลิณี จุโฑปะมา en_US
dc.contributor.advisor ประคอง กาญจนการุณ en_US
dc.contributor.author สุมาลี, มะลิรัมย์
dc.date.accessioned 2020-08-18T04:39:26Z
dc.date.available 2020-08-18T04:39:26Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6831
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย เพื่อประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาคณิตศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2553) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ โดยใช้แนวคิดการประเมินหลักสูตรตามรูปแบบ CIPP Model ของสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam) มาประยุกต์ใช้ซึ่งประเมินทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการและด้านผลผลิตโดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้รับผิดชอบหลักสูตรและผู้บริหาร จำนวน 10 คน อาจารย์ผู้สอน/อาจารย์พิเศษ จำนวน 65 คน นักศึกษา จำนวน 170 คน บัณฑิต จำนวน 26 คน และหัวหน้างาน จำนวน 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มี 3 ลักษณะคือ แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และแบบเปิดการวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการคำนวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลวิจัย พบว่า 1. ผลการประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2553) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ โดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากโดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านปัจจัยนำเข้า รองลงมา คือ ด้านบริบท ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต ตามลำดับ 2. ผลการประเมินด้านบริบท ในภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านเนื้อหารายวิชาของหลักสูตร รองลงมา คือ ด้านวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และด้านโครงสร้างหลักสูตรตามลำดับ 3. ผลการประเมินด้านปัจจัยนำเข้า ในภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณารายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้านโดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านคุณลักษณะอาจารย์ รองลงมา คือ ด้านคุณลักษณะความพร้อมของนักศึกษา ด้านสื่อการเรียน การสอน และด้านอาคาร สถานที่ ตามลำดับ 4. ผลการประเมินด้านกระบวนการ ในภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การวัดแกละการประเมินผลการศึกษา รองลงมา คือ ด้านบริหารหลักสูตร และการจัดการเรียนการสอนตามลลำดับ 5. ผลการประเมินด้านผลผลิต ในภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณารายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้านโดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านทักษะทางปัญญา รองลงมา คือ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านความรู้ และด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตามลำดับ en_US
dc.description.abstract The purpose of this research was to evaluate of Burirum Rajabhat University Curriculum of Bachelor of Science Program in Mathematics (Rrvised Curriculum 2010) . Stufflebeam’s CIPP model was applied and used to assess four aspects of the curriculum: Context, input, process and product. The data wear collected from 10 curriculum committee, 65 permanent and special lecturers, 170 students, 26 graduates and 26 heads of company departments. The research tool was five-rating scale questionnaire. There are 3 types of questionnaire : check list, rating scale of 5 levels, and open-ended questions. The data were analyzed by mean and standard deviation. The research findings revealed that : 1. Having assessed the curriculum, the curriculum committee, permanent and special lecturers, and students opined that curriculum appropriateness was overall found at a high level. Upon considering each aspect, it show that appropriateness of the input was found at the average highest level, and was followed by context, process and product, respectively. 2. Having assessed the context, the appropriateness was overall found at a high level. Upon considering each aspect, it showed that the courses and subjects were found at the average highest level, and were followed by curriculum objectives and curriculum structure, respectively. 3. Having assessed the input, the appropriateness was overall found at a high level. Upon considering each aspect, it showed that lecturers’ characteristics were found at the average highest level, and were followed by students’ characteristics and readiness, instructional media, teaching, building and venues, respectively. 4. Having assessed the process, the appropriateness was overall found at a high level. Upon considering each aspect, it showed that measurement and evaluations were found at the highest level, and were followed by curriculum administration and instructional management, respectively. 5. Having assessed the product, the appropriateness was overall found at a high level. Upon consideration each aspect, it showed that the intellectual skill were found moral, at the average highest level, followed by Interpersonal skill and responsibility, knowledge and skill, numerical analysis. Communication and information technology, respectively. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2553) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.title การประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2553) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative Assessment of Burirum Rajabhat University Curriculum of Bachelor of Scinence Program in Mathematics (Rrvised Curriculum 2010) en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.name ครุศาสตร์มหาบัณฑิต en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics