ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนาการผลิตข้าวของเกษตรกรจังหวัดอำนาจเจริญ

Show simple item record

dc.contributor.author อภิชิต, โพธิ์ศรี
dc.contributor.author มาลี, ไชยเสนา
dc.contributor.author สังวาล, สมบูรณ์
dc.date.accessioned 2020-08-18T04:05:25Z
dc.date.available 2020-08-18T04:05:25Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation มนุษยสังคมสาร ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2562) : หน้า 235-252 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6804
dc.description.abstract งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารจัดการ สภาพทั่วไปของการผลิตข้าวและความต้องการในการพัฒนารวมไปถึงกำหนดแนวทางเพื่อพัฒนาการผลิตข้าวของเกษตรกรจังหวัดอำนาจเจริญ กลุ่มเป้าหมายได้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตข้าวที่ได้รับการยอมรับว่ามีแนวทางการบริหารจัดการที่ดีจำนวน 2กลุ่ม และครัวเรือนเกษตรกรผู้ผลิตข้าวนาปี ในจังหวัดอำนาจเจริญ ปี การเพาะปลูก 2558จำนวน 65,971ครัวเรือน ทำการสุ่มแบบหลายขั้นตอนได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 397ครัวเรือน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลได้แก่แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยพบว่าการผลิตข้าวของเกษตรกรในจังหวัดอำนาจเจริญได้ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย347.2กิโลกรัม ต้นทุนต่อกิโลกรัมเฉลี่ย4.02 บาท ราคาขายเฉลี่ยกิโลกรัมละ10.71 บาท ได้ผลกำไรต่อกิโลกรัมเฉลี่ย6.69 บาท รายได้ต่อไร่เฉลี่ย 3,718.51 บาทได้ผลกำไรต่อไร่เฉลี่ย 2,322.51 บาท ภาพรวมการบริหารจัดการการผลิตข้าวทั้งจังหวัดอยู่ในระดับปานกลาง ( x ̅=3.33, S.D.=.62) แนวทางกาพัฒนาการผลิตข้าวของเกษตรกรจังหวัดอำนาจเจริญ ประกอบด้วย 3ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและทรัพยากรการผลิตยุทธศาสตร์ที่2 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว และยุทธศาสตร์ที่3การเพิ่มความสามารถในการแข่งขันด้านการตลาดและการบริหารจัดการสินค้าและผลิตภัณฑ์จากข้าว en_US
dc.description.abstract The research aimed to study the management of the rice production and the general conditions of rice production and the demand for rice production development, and to explore the guidelines to improve the rice production of the rice farmers in Amnat Charoen province. The targets were two groups of the communal enterprise that was recognized as having the best practice, and 65,971 farming households that produced the seasonal rice in 2016. All 397 households were randomly selected via multi-stage sampling. The research instruments were an interview and a questionnaire. Statistics used in data analysis were percentage, mean, standard deviation, and content analysis. The research results revealed that rice production of farmers in Amnat Charoen province yielded an average of 347.2 kilograms per rai, average cost per kilogram of 4.02 baht, average selling price of 10.71 baht per kilogram, an average profitof 6.69 baht per kilogram, and average income of 3,718.51 baht per rai. Management of the rice production in the province was overall at moderate level ( X =3.33, S.D.=.62). The guidelines for the rice production development of the rice farmers in Amnat Charoen consisted of three strategies: Strategy 1 was about a development of the riceproduction infrastructure and resources. Strategy 2 was about an increased efficiency of riceproduction and rice products. And strategy 3 was about an increased capacity to compete in marketing and management of goods and rice products. Keywords: development, rice production, farmers en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การพัฒนาการผลิตข้าวของเกษตรกรจังหวัดอำนาจเจริญ en_US
dc.title การพัฒนาการผลิตข้าวของเกษตรกรจังหวัดอำนาจเจริญ en_US
dc.title.alternative A Rice Production Development of the Rice Farmer in Amnat Charoen Province en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics