ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การวิเคราะห์กลวิธีการแปลนิยายจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย เรื่อง เชอร์ล็อก โฮล์มส์ ตอน แรงพยาบาท

Show simple item record

dc.contributor.advisor อัครพนท์ เนื้อไม้หอม en_US
dc.contributor.advisor คำภีรภาพ อินทนู en_US
dc.contributor.author กรสิริ, โสตขวัญฟ้า
dc.date.accessioned 2020-07-20T08:34:48Z
dc.date.available 2020-07-20T08:34:48Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6680
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ของการวิจัยในครั้งนี้คือวิเคราะห์และหาค่าความถี่ของกลวิธีการแปลที่พบในนิยายเรื่อง เชอร์ล็อก โฮล์มส์ ตอน แรงพยาบาท ซึ่งแปลจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยโดยใช้ทฤษฎีการแปลของเบเกอร์ (Baker, 1992) มุ่งเน้นความหมายที่ไม่สามารถเทียบเคียงกันได้ในระดับค้านิยายเรื่องนี้มีทั้งภาคภาษาอังกฤษและภาคภาษาไทยภาคภาษาอังกฤษคือ Sherlock Holmes: A Study in Scarlet เขียนโดยเซอร์อาร์เธอร์โคนันคอยล์ (Sir Arthur Conan Doyle) และภาคภาษาไทยคือแรงพยาบาทแปลโดยสายสุวรรณกลุ่มตัวอย่างของงานวิจัยนี้ได้มาโดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจงประกอบด้วยบทที่ 1 ถึงบทที่ 3 จากภาคที่ 1 ในการศึกษาวิจัยนี้ได้ใช้ระเบียบการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพระเบียบการวิจัยเชิงปริมาณใช้ในการคำนวณหาค่าความถี่และร้อยละของแต่ละกลวิธีที่พบในการวิเคราะห์การแปลและใช้ในการคำนวณหาคำความเที่ยงระหว่างผู้ประเมินโดยการใช้ทำความสอดคล้องในรูปแบบร้อยละส่วนระเบียบการวิจัยเชิงคุณภาพใช้ในการวิเคราะห์กลวิธีที่พบในการแปลภายใต้กรอบทฤษฎีการแปลของเบเกอร์ (Baker) และใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์แบบติความโดยการเปรียบเทียบภาษาค้นทางกับภาษาปลายทางหลังจากนั้นใช้การบรรยายแบบการแปลย้อนกลับและการบรรยายความเห็นลงในตารางผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่าผู้แปลใช้กลวิธีการแปลในระดับต่ำ 7 ประเภทดังนี้คือการแปลโดยการใช้คำที่มีความหมายกว้างๆการแปลโดยการใช้คำที่มีความหมายแสดงความรู้สึกเป็นกลางมากกว่าหรือน้อยกว่าต้นฉบับการแปลโดยการใช้ศัพท์ทางวัฒนธรรมการแปลโดยการใช้คำยืมหรือคำยืมแล้วเพิ่มคำอธิบายการแปลด้วยวิธีการถอดความโดยใช้คำที่สัมพันธ์กันการแปลด้วยวิธีการถอดความโดยใช้คำที่ไม่สัมพันธ์กันและการแปลโดยการละคำ en_US
dc.description.abstract The purpose of this study was to analyze the strategies and to find out the frequency used in the translation of the English novel Sherlock Holmes: A Study in Scarlet into Thai by applying the strategies of Baker (1992) who proposed the translation of non equivalence at a word level. The text had two versions, the English version named Sherlock Holmes, A Study in Scarlet which was written by Sir Arthur Conan Doyle and the Thai version Armed Kang Phayabath translated by Saisuwan. The samples consisted of Chapters I, II, III from Part I which were purposively selected. This research was a mixed method research by combining both quantitative and qualitative methods. The quantitative method was used to calculate the frequency and percentage of each strategy found in translation analysis and to calculate the inter-rater reliability by using Percent Agreement. The qualitative method was used to analyze what translation strategies were found in this novel translation under the theoretical framework of Baker and to analyze the descriptive data and the interpretative analysis by comparing the source and target texts, then describing back translation in remarks in a table list. The results showed that even Strategies at a word level were employed by the translator: translation by a more general Word, a more neutral / less expressive Word, cultural substitution, using a loan word or loan Word plus explanation, paraphrase using a related Word, paraphrase using unrelated Words, And omission en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การวิเคราะห์กลวิธีการแปลนิยายจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย เรื่อง เชอร์ล็อก โฮล์มส์ ตอน แรงพยาบาท en_US
dc.title การวิเคราะห์กลวิธีการแปลนิยายจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย เรื่อง เชอร์ล็อก โฮล์มส์ ตอน แรงพยาบาท en_US
dc.title.alternative AN ANALYSIS OF TRANSLAYION STRATEGIES FOR TRANSLATING THE ENGLISH NOVEL en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline ภาษาอังกฤษ en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics