ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง เงิน ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

Show simple item record

dc.contributor.author นิพล, ลังสุทธิ
dc.date.accessioned 2020-07-20T08:08:34Z
dc.date.available 2020-07-20T08:08:34Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, ปีที่ 11 ฉบับพิเศษ (22 -24 พ.ย. 2559); หน้า 8 - 13 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6657
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาบทเรียน มัลติมีเดีย เรื่อง เงิน ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 (2) เปรียบเทียบผลลัมถุทธ์ทางการเรียนระหว่างก่อน เรียนและหลังเรียน ที่เรียนด้วยบทเรียนมีสติมีเดีย เรื่อง เงิน (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง เงิน การดำเนินการวิจัยโดยใช้แผนการวิจัยแบบกสุ่มเดียว ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ นักเรียนขั้นประถมศึกษาปีที่2/2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนบ้านหนองขาม (ค่ายเสนิย์อุปถัมภ์) อำเภอเมือง จังหวัด อุดรธานี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานีเขต 1 จังหวัดอุดรธานี จำนวน 1 ห้องเรียน 20 คน ได้มาโดยการสุ่ม แบบกสุ่ม เครื่องมีอที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ บทเรียนมัลติมีเดีย แบบวัดผสลัมถุทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน แบบวัดความ พึงพอใจของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีความสอดคล้อง ค่าร้อยละ โดยการใช้การทดสอบทีแบบไม่อิสระ สถิติทดสอบค่าที แบบ t-pair แบบ one sample และ ประสิทธิภาพของกระบวนการ E /E ผลการการศึกษาพบว่า ประสิทธิภาพของบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง เงิน ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้โดย ใช้สมองเป็นฐาน สำหรับนักเรียนขั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่พัฒนา ขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 96.00 / 93.75 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 เปรียบเทียบผลลัมถุทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียน ด้วยบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง เงิน มีผสลัมถุทธิ์ทางการเรียนหลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ นักเรียนมีความพึงใจต่อบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง เงิน เฉลี่ยรวม เท่ากับ 2.81 ซึ่งอยู่ในระดับพอใจมาก en_US
dc.description.abstract This research aimed to (1) develop multimedia instruction on the topic “MONEY” on Brain-Based Learning for grade 2 student to be effective criteria set in 80/80 standard (2) compare learning achievement between before and after learning by the multimedia instruction on the topic “MONEY” (3) find out the satisfaction of the students to multimedia instruction on the topic “MONEY”. The researchers used one group pretest posttest design. The sample group used was a 20 students of class 2/2 attending the semester 2 of academic year 2015 of Ban Nongkham School, Muang district, Udon Thani, obtained by cluster sampling. The implements used in this research consisted of multimedia instruction, achievement test and satisfaction survey. The statistics used to analyze data were mean, standard deviation, percentage, the index of item objective congruence by using t-test (t-pair, one sample and the effective of El/E. The results of the study were as following. (1) the efficiency of multimedia instruction on the topic “MONEY” for grade 2 was developed at 96.00/93.75 which went along with the 80/80 standard. (2) The learning achievement after the students learned by using multimedia instruction was higher than before at the level of significance .05. (3) The students were satisfied with the multimedia instruction for grade 2 at about 2.81 which was in a high level. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง เงิน ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 en_US
dc.title การพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง เงิน ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 en_US
dc.title.alternative A development of multimedia instruction on the topic “MONEY” Through Brain-Based Learning for grade 2 student en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics