ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การศึกษาความเป็นไปได้ของการจัดตั้งโรงผลิตน้าดื่มบรรจุขวดอัตโนมัติ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

Show simple item record

dc.contributor.author เปรมชัย, มูลหล้า
dc.date.accessioned 2020-07-20T07:58:43Z
dc.date.available 2020-07-20T07:58:43Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, ปีที่ 11 ฉบับพิเศษ (22 -24 พ.ย. 2559); หน้า 21 - 30 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6653
dc.description.abstract งานวิจัยเรื่องการศึกษาความเป็นไปได้ของการจัดตั้งโรงผลิตน้าดื่มบรรจุขวดอัตโนมัติในมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการจัดตั้งโรงผลิตน้าดื่มบรรจุขวดอัตโนมัติ ซึ่งภายในมหาวิทยาลัยยังไม่มีน้าดื่มแบบบรรจุขวดที่เป็นตราของยี่ห้อของทางมหาวิทยาลัย การดำเนินงาน วิจัยทาการสำรวจข้อมูลทางด้านการตลาด ผู้บริโภคน้าดื่มส่วนมากยินดีสนับสนุนให้มีการผลิตน้าดื่มในมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย คิดเป็น 86.36 เปอร์เซ็นต์ สารวจการเลือกบริโภคน้าแบบบรรจุขวดของนักศึกษาและบุคคลภายนอก ผู้บริโภคนำ้ดื่มเลือกปัจจัยที่ราคาและการส่งเสริมการขายมากที่สุด ออกแบบโรงผลิตน้ำดื่มบรรจุขวดอัตโนมัติ ประกอบด้วย 1) ส่วนที่ทำให้น้ำบริสุทธิ์มีชุดระบบควบคุมใช้ในอุตสาหกรรมน้ำดื่ม 2) ส่วนผลิตขวดด้วยชุดเครื่องเป่าระบบลมแรงดันสูง มีเครื่องเป่าขวดอัตโนมัติ สำหรับผลิตขวด PET 3) ส่วนผลิต PET Pre-form และฝา มีเครื่องฉีด พลาสติกผลิต PET Pre-form และฝาขวด 4) ส่วนกรอกน้ำดื่ม ปิดฝาและติดฉลาก มเีครื่องบรรจุน้ำดื่มรวมถึงจัดโหลและห่อฟิล์ม ศึกษาข้อมูลด้านการเงิน ลงทุนปรับปรุงอาคาร ราคาเครื่องจักร ต้นทุนคงที่รวม 14,420,000 บาท วิเคราะห์ต้นทุนการดำเนินงานและวัสดุสิ้นเปลือง ค่าจ้างแรงงาน ต้นทุนผันแปรรวม 2.68 บาทต่อขวด จุดคุ้มทุนและระยะเวลาคืนทุนการผลิตน้ำดื่มบรรจุขวด ปริมาณจุดคุ้มทุนจำนวน 3,340,283 ขวด ระยะเวลาคืนทุน 4.64 ปี en_US
dc.description.abstract This paper presents a feasibility study of a project to operate a bottled drinking water production plant in Loei Rajabhat University and distribute products under the university’s own brand. A market survey revealed that most consumers, accounting for 86.36%, are in favor of the project. According to a consumer preference survey, the majority of respondents, students and the public, attached most importance to price and promotional sale. A plant layout design is divided into 4 main areas: 1) water purification station operated by a standard control system widely used in the drinking water industry; 2) PET bottle production station employing an automatic blowing machine with high pressure; 3) PET preforms and cap production station employing a plastic injection machine; and 4) water filling, capping and labeling station employing a water filling, capping and labeling assembly line, together with a packing and film-wrapping machine. As for an analysis of financial costs, the total fixed cost (building renovation and machinery) averages out at 14,420,000 Baht ; the total variable cost (operating cost, supplies, and labor) is 2.68 Baht per bottle; and a break-even point and a payback period is 3,340,283 bottles and 4.64 years, respectively. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การศึกษาความเป็นไปได้ของการจัดตั้งโรงผลิตน้าดื่มบรรจุขวดอัตโนมัติ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย en_US
dc.title การศึกษาความเป็นไปได้ของการจัดตั้งโรงผลิตน้าดื่มบรรจุขวดอัตโนมัติ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย en_US
dc.title.alternative A Feasibility Study of Establishing Automatic Bottled Drinking Water in Loei Rajabhat University en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics