ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร

Show simple item record

dc.contributor.author ธเนศพล, อินทร์จันทร์
dc.contributor.author ชยุต, มารยาทตร์
dc.contributor.author ปทุมรัตน์, สีธูป
dc.date.accessioned 2020-07-20T07:32:03Z
dc.date.available 2020-07-20T07:32:03Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, ปีที่ 14 แบับที่ 1 (ม.ค. - มิ.ย. 2562); หน้า 120 - 128 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6626
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร 2) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของ บุคลากรในองค์การบริหารส่วนจังหวัดกกแพงเพชร กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา จำนวน 302 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมาเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 0.67-1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม เท่ากับ .8841 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ เพื่ออธิบายข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, t-test, f-test เปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่โดยใช้วิธี Scheffe ผลการวิจัยพบว่า ในภาพรวม 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการปฏิบัติงาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด อยู่ในระดับมาก รองลงมาคือ ด้านการปรับปรุง อยู่ในระดับมาก ด้านการตรวจสอบและประเมินผล อยู่ในระดับมาก) และด้านการวางแผนมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด อยู่ในระดับมาก ผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร แยกตามเพศ อายุ การศึกษา ในภาพรวม 4 ด้าน พบว่าไม่แตกต่างกัน en_US
dc.description.abstract This research aimed 1) to study work efficiency of personnel in the office of Kamphaeng Phet Provincial Administrative Organization; 2) to compare work efficiency of personnel in Kamphaeng Phet Provincial Administrative Organization. The samples were 302 personnel. The research tool was 5-rating scale questionnaire (IOC 0.67 - 1.00 , α =.8841). Statistics used to analyze the data were mean, standard deviation, t-test, F-test and Scheffe’s method.The results showed that all of 4 aspects were at a high level. When considered in each aspect, it was found that operational aspect received the highest level followed by adjustment aspect, monitoring and evaluation and planning, respectively. However, there was no difference in the comparison of the 4 aspects between work efficiency of personnel in Kamphaeng Phet Provincial Administrative Organization classified by gender, age and education. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร en_US
dc.title ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics