ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การส่งเสริมแรงงานทักษะไทยสู่ สปป.ลาว

Show simple item record

dc.contributor.author ณพิชญา, เฉิดโฉม
dc.contributor.author ศักดิ์ชาย, จันทร์เรือง
dc.contributor.author บรรพต, วิรุณราช
dc.date.accessioned 2020-07-20T07:09:30Z
dc.date.available 2020-07-20T07:09:30Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (ก.ค. - ธ.ค. 2560); หน้า21-33 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6608
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการจ้างงานแรงงานทักษะจากประเทศไทยของ​สปป.ลาว​ โดยการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกจนกว่าข้อมูลจะอิ่มตัวได้จําานวนกลุ่มตัวอย่าง​15​ คน​ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลคือผู้ประกอบการองค์การขนาดใหญ่ของ​สปป.ลาว​วิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความและสรุปเนื้อหา​และการวิจัยเชิงปริมาณโดยการสํารวจความคาดหวังคุณภาพชีวิตในการทํางาน​กลุ่มตัวอย่างคือ​นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีสุดท้าย​ 4​ สาขาวิชาชีพ​ได้แก่​วิศวกร ​สถาปนิก​ นักสํารวจ​และนักบัญชี​จํานวน​ 400​ คน​ผลการสัมภาษณ์​พบว่า​สาขาวิชาชีพที่สามารถเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี​และเป็นที่ต้องการขององค์การภาคเอกชนใน​สปป.ลาวได้แก่​วิศวกร​สถาปนิก ​นักสํารวจ​และนักบัญชี​ตามลําดับ​คุณสมบัติเบื้องต้นของแรงงานทักษะที่จําเป็น​ได้แก่ ​1)​ วุฒิการศึกษา​ 2)​ ระดับการศึกษา ​3)​ ประสบการณ์ในการทําางาน​ 4)​ ทักษะด้านภาษา​ 5)​ ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ​ 6)​ ประวัติการฝึกอบรม​และ ​7)​ ทักษะการทํางานเป็นทีม​วิธีการจ้างแรงงานทักษะจากต่างประเทศ​ได้แก่​1)​ การจ้างงานแบบพนักงานประจํา ​2)​ พนักงานแบบสัญญาจ้าง ​3)​ พนักงานฝึกหัด​ 4)​ พนักงานฝึกงาน​5)​ การจัดจ้างคนภายนอก​และ ​6)​ พนักงานแบบชั่วคราว​คุณภาพชีวิตในการทําางานที่แรงงานทักษะจะได้รับหากไปทํางานในองค์การขนาดใหญ่​สปป.ลาว​คือ ​1)​การได้รับค่าจ้าง/​เงินเดือนที่ยุติธรรม​ 2)​ การได้รับสวัสดิการและผลประโยชน์ที่เหมาะสม ​3)​ สภาพแวดล้อมในการทํางาน​4)​ การพัฒนาศักยภาพและความสามารถของพนักงาน​ 5)​ การพัฒนาในสายอาชีพ​การเติบโต​และความมั่นคงในงาน​6)​ การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีภายในองค์การ ​7)​ การมีระบบการบริหารงานที่มีความยุติธรรม ​8)​ การมีภาวะอิสระจากงาน ​9)​ ความภาคภูมิใจในองค์การ ​10)​ ความพึงพอใจในงาน​ 11)​ ภาวะผู้นําและการให้อํานาจแก่พนักงาน ​12)​ความเพียงพอของทรัพยากรในการทํางาน​และ​ 13)​ความคิดสร้างสรรค์ในการทํางาน en_US
dc.description.abstract This​research​aims​at​ studying​on​ employment​patterns​of​ ASEAN​skilled​labors​in​ Lao​PDR.​The​study​comprises​qualitative​method​through​in-depth​interview​until​data​saturation​is​reached.​The​sample​group​is ​ composed​ of​ 15​ large-scale​ business​ entrepreneurs​ in ​ Lao ​ PDR.​ The​ information​is ​ analyzed​ through​interpretation​and​data​summary.​And​quantitative​researchthrough​survey​of​ life​ quality​expectation​in​ work​in​ Lao​PDR.​The​sample​group​is​ composed​of​ 400​Undergraduate​final​year​students​in​ 4​ professional​fields:​engineering,​architecture,​surveyor​and​accountancy.​The​result​of​ interview​shows​that​the​career​fields​in​ which​the​labors​are​freely​transferred​and​much​demanded​by​ the​ private​organizations​in​ Lao​PDR​are​ engineers,​architects,​surveyor​an​ accountant​respectively.​The​fundamental​necessary​qualifications​of​ skilled​labors​are​1)​ Educational​degree,​2)​ Educational​level,​3)​ Work​Experience,​4)​ Language​skill,​5)​ IT​ Skill,​6)​ Training​history​and​7)​ Teamwork​skill.​The​employment​patterns​of​ foreign​skilled​labors​are​1)​ Full-time​employees​2)​ Employees​under​the​contract,​3)​ Trainees,​4)​Interns,​5)​Sub-contract​employees​and​6)​Temporary​employees.​​The​life​ quality​that​skill​labors​will​receive​whilst​working​in​ Lao​PDR​is​ composed​of​ 1)​ Fair​wage/​salary,​2)​ Appropriate​fringe​benefit​and​allowance,​3)​ Workplace​environment,​4)​ Training​for​ employee​potential​and​ability​improvement,​5)​ Career​improvement,​growth​and​stability,​6)​ Good​relationship​building​in​ organization,​7)​ Fair​administrative​system,​8)​ Total​life​space,​9)​ Organizational​pride,​10)​Job​satisfaction,​11)​Leadership​and​authority​granted​to​employees,​12)​Sufficient​resources​for​work​and​13)​Creativity​in​work. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การส่งเสริมแรงงานทักษะไทยสู่ สปป.ลาว en_US
dc.title การส่งเสริมแรงงานทักษะไทยสู่ สปป.ลาว en_US
dc.title.alternative Promotion​ for​ Skilled​Labors ​to​ Work​in​ Lao​ PDR en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics