ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

วัฒนธรรมการรักษาโรคของหมอพื้นบ้านอีสาน กรณีศึกษา ตำบลนาฝาย อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ

Show simple item record

dc.contributor.author กรุณา, จันทุม
dc.date.accessioned 2020-07-14T03:39:26Z
dc.date.available 2020-07-14T03:39:26Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, ปีที่ 11 ฉบับพิเศษ (22 -24 พ.ย. 2559); หน้า 149 - 156 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6583
dc.description.abstract การวิจัยเชิงสารวจ เพื่อศึกษาองค์ความรู้และวัฒนธรรมการรักษาโรคหมอพื้นบ้าน กลุ่มตัวอย่างเป็นหมอพื้นบ้านที่อยู่ในตำบลนาฝาย เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารที่ค้นเพิ่มเติมตามการอ้างอิงของหมอพื้นบ้านอีสาน เช่น ตำรับยาในการรักษา วิธีการเยียวยารักษาของหมอพื้นบ้านอีสาน รายงานผลการศึกษาด้วยการพรรณนาข้อมูล โดยการจัดหมวดหมู่ตามประเภทของหมอพื้นบ้าน วิธีการเยียวยารักษาของหมอพื้นบ้าน ผลการวิจัย หมอพื้นบ้าน 35 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชายและเป็นผู้สูงอายุ ให้การรักษาผู้ป่วยไม่ตำ่ากว่า 10 ปี แรงจูงใจในการเป็นหมอพื้นบ้าน เนื่องจากสืบทอดจากบรรพบุรุษ หมอพื้นบ้านจะมีการปฏิบัติตนตามจารีต ได้แก่ ไหว้ครู การปฏิบัติตามข้อห้าม รูปแบบการรักษาของหมอพื้นบ้านเป็นแบบผสมผสานโดยใช้การเป่าคาถาร่วมกับการรักษาด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การใช้สมุนไพร การรักษาด้วยน้ามัน การนวดพื้นบ้าน รวมทั้งการดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ วิธีการรักษาเริ่มจากการซักประวัติ การตรวจตำแหน่งที่มีอาการ วินิจฉัยโรค การตั้งคาย การลงมือรักษา และการปลงคายหลังจากผู้ป่วยหาย en_US
dc.description.abstract This research aims to study the general information, folk healer’s status and role, and types of treatment by folk healers in Amphur Muange Chaiyaphum province. The research examines is survey research. The subjects is folk healers lived in Amphur Muange Chaiyaphum province. Questionnaires and depth interview were used as the research tool. The data were analyzed using descriptive statistics, percentage, mean and standard deviation. The results showed 35 folk healers live in Amphur Muange Chaiyaphum province. The most were male, old age and have treated their patients at least 10 years. The most of folk healers blowing healer (Mor Pow).The important motivation to be the healer was their ancestor who also be the folk healers. The present traditional healers did not pass on his knowledge to new generations and practices in tradition include offering for the Khai and practices in taboos. The majority was the integrated folk healers such ad being both the blowing healer (Mor Pow) and the herbal healer, or being the plant oil, healer massage and midwife. The treatment started with checking history and symptoms, treatment and was followed by settlement for the Khai first and setting for the Khai after the recovery. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject วัฒนธรรมการรักษาโรคของหมอพื้นบ้านอีสาน กรณีศึกษา ตำบลนาฝาย อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ en_US
dc.title วัฒนธรรมการรักษาโรคของหมอพื้นบ้านอีสาน กรณีศึกษา ตำบลนาฝาย อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ en_US
dc.title.alternative The cultural treatment of wisdom folk healers at Nafai sub-district, Muang district, Chaiyaphum. en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics