ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนากระบวนการสื่อสารเพื่อการอนุรักษ์ลำน้ำมวกเหล็กอย่างยั่งยืน

Show simple item record

dc.contributor.author รัชชนก, สวนสีดา
dc.date.accessioned 2020-07-14T03:28:22Z
dc.date.available 2020-07-14T03:28:22Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, ปีที่ 11 ฉบับพิเศษ (22 -24 พ.ย. 2559); en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6571
dc.description.abstract การวิจัยเรื่อง “การพัฒนากระบวนการสื่อสารเพื่อการอนุรักษ์ลำน้ำมวกเหล็กอย่างยั่งยืน” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อศึกษารูปแบบและปัญหาของกระบวนการสื่อสารในการอนุรักษ์ลำน้ำมวกเหล็ก ประเมินศักยภาพกระบวนการสื่อสารของชุมชนในการอนรุกัษ์ลำน้ำมวกเหล็ก และหาแนวทางพัฒนากระบวนการสื่อสารของชุมชนในการอนุรักษ์ลำน้้ำมวกเหล็ก พื้นที่วิจัยอยู่ที่ในเขตอำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ผู้เข้าร่วมการวิจัยผ่านการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจำนวน 68 คน ประกอบด้วยภาคีทางตรงและภาคีทางอ้อม การรวบรวมข้อมูลและเครื่องมือการวิจัย ใช้การวิจัยเอกสาร การสำรวจภาคสนาม การสัมภาษณ์ และการจัดเวทีชุมชน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การประมวลวิเคราะห์สังเคราะห์และสรุปประเด็น มีข้อค้นพบดังนี้ ( 1) รูปแบบการสื่อสารในการอนุรักษ์ลำน้ำมวกเหล็กมี 3 รูปแบบการสื่อสาร ได้แก่ การสื่อสารในระดับครอบครัว การสื่อสารในระดับชุมชน และการสื่อสารในระดับโรงเรียนนั้น ส่วนใหญ่ใช้ “การสื่อสารในระดับชุมชน” เป็นเครื่องมือสำคัญที่สุดใ นการเผยแพร่ความรู้และสร้างจิตสานึกในการอนุรักษ์ลำน้ำมวกเหล็ก เน้นการสื่อสารสองทาง และปัญหาการสื่อสารมักเกิดขึ้นในทุกองค์ประกอบของกระบวนการสื่อสาร คือ ผู้ส่งสาร สารสื่อหรือช่องทาง และผู้รับสาร (2) ประเมินศักยภาพกระบวนการสื่อสารในการอนุรักษ์ลำน้ำมวกเหล็กด้านผู้ส่งสาร คือ กลุ่มเครือข่ายของภาคประชาชนเป็นหลัก ประเด็นเ นื้อหาสาระเกี่ยวกับการให้ความรู้ ความคิดเห็น และการสร้างจิตสาธารณะในการอนุรักษ์ลำน้ำมวกเหล็ก โดยผ่านสื่อบุคคลและสื่อกิจกรรมเป็นหลัก ไปยังผู้รับสารทเี่น้นกลุ่มเด็กและเยาวชนในอำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรีและ (3) แนวทางการพัฒนาการสื่อสารเพื่อการอนุรักษ์ลำน้ำ มวกเหล็ก มี 3 ขั้นตอน คือ การจัดตั้งคณะทำงาน การปฏิบัติการสื่อสาร และการขยายแนวร่วมทั้งในระดับชุมชน และระดับจังหวัด en_US
dc.description.abstract The research of the development of communication process for sustainable conservation in Muak Lek Tributary. This study used qualitative research methods including documentary research, observation and in-depth interviews of 68 experts in Muak Lek Tributary. The objective of this research to study the patterns and processes of communication, communication potential of the community, and the development process of the communication community for sustainable conservation in Muak Lek Tributary. The findings of the research: 1. Communication style to conserve in Muak Lek Tributary has three forms of communication in the family, communication in the community and communication in schools. Using communication in the community is the most important, Focusing two-way communication 2. Communication process in Muak Lek Tributary that sender is communication in the groups of civil society in the mode of two-way communication, the meassage created for use in communication of knowledge,public opinion, and creating conservation environment in Muak Lek Tributary. Also had the mode of communications through personal media and different activities to the groups of children and youth in Muak Lek Tributary 3. Guidelines for sustainable conservation in Muak Lek Tributary with third step is to establish a working group. Communication practices, and the expansion of the alliance at the community level. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การพัฒนากระบวนการสื่อสารเพื่อการอนุรักษ์ลำน้ำมวกเหล็กอย่างยั่งยืน en_US
dc.title การพัฒนากระบวนการสื่อสารเพื่อการอนุรักษ์ลำน้ำมวกเหล็กอย่างยั่งยืน en_US
dc.title.alternative The Development of Communication Process for Sustainable Conservation in Muak Lek Tributary en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics