ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนาภาพยนตร์สั้นโดยใช้แนวคิดสตอรีไลน์สำหรับน่าเสนอ ค่านิยม 12 ประการ ผ่านวิถีชีวิตชุมชน

Show simple item record

dc.contributor.author ภาคิณ, ศรีมุลตรี
dc.date.accessioned 2020-07-14T02:55:04Z
dc.date.available 2020-07-14T02:55:04Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, ปีที่ 11 ฉบับ 2 (ก.ค. - ธ.ค. 2559); en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6549
dc.description.abstract การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาวิถีชุมชนตาม กรอบแนวคิดปัจจัยมนุษย์สำหรับการเล่าเรื่องโดยใช้แนวคิดสตอรีไลน์สำหรับนำเสนอค่านิยม 12 ประการ 2) พัฒนาและประเมิน สื่อภาพยนตร์สั้นโดยใช้แนวคิดสตอรีไลน์สำหรับนำเสนอค่านิยม 12 ประการ 3) ศึกษาผลการรับรู้ที่มีต่อภาพยนตร์สั้นโดยใช้แนว คิดสตอรีไลน์สำหรับนำเสนอค่านิยม 12 ประการ 4) ศึกษาความ พึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อภาพยนตร์สั้นโดยใช้แนวคิดสตอรีไลน์ สำหรับนำเสนอค่านิยม 12 ประการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ ทดลองสื่อ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้าน วังบัวสามัคคี อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม โดยวิธีการ เลือกแบบเจาะจง จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างด้านวิถีชีวิตชุมชน แบบประเมิน คุณภาพสื่อจากผู้เชี่ยวชาญ แบบวัดการรับรู้และแบบวัดความพึง พอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. ข้อมูลวิถีชีวิตชุมชนตามกรอบแนวคิดปัจจัยมนุษย์ ชุม ซนที่ทำการศึกษา คือ ชุมชนบ้านวังบัว อำเภอกันทรวิชัย จังหวัด มหาสารคาม ผลการศึกษา พบว่า 1) ด้านกายภาพ ชุมชนบ้าน วังบัวเป็นชุมชนขนาดใหญ่ มีสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การทำการเกษตร มีโรงเรียนประจำชุมชน 1 แห่งคือโรงเรียนบ้านวังบัวสามัคคีวิทยา เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทำการ สอนตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีวัดประจำ ชุมชน 1 แห่งคือวัดท่าเรียบ ซึ่งซาวบ้านจะใช้วัดในการประกอบ พิธีกรรมทางศาสนาและกิจกรรมทางสังคมอื่นๆ รวมทั้งยังสอน ศีลธรรมให้กับนักเรียนด้วย 2) ด้านจิตวิทยา ชุมชนบ้านวังบัว เป็นชุมชนที่นับถือกันแบบเครือญาติ มีความสามัคคีการปฏิบัติ ต่อกันเป็นลักษณะชองการช่วยเหลือเกื้อกูลและแบ่งปันซึ่งกัน และกัน มีการถ่ายทอดความคิด ความเชื่อ ค่านิยมด้านต่างๆ ที่ มีความเกี่ยวช้องกับพระพุทธศาสนา ส่งผลให้ซาวบ้านปฏิบัติต่อ กันอย่างมีศีลธรรม ไม่เอารัดเอาเปรียบ มี'นา'ใจ เอื้อเพื่อเผื่อแผ่ให้ แก่กันสถาบันทางสังคมมีการประสานความร่วมมือและช่วยเหลือ กันในกิจกรรมต่างๆ ชองชุมชน 3) ด้านสังคมและวัฒนธรรม ชาว บ้านในชุมชนมีการปฏิบัติตามประเพณี ฮีตสิบสอง หมายถึงงาน ประเพณีตอบแทนบุญคุณธรรมชาติสิ่งคักดิ์สิทธิ์ที่ช่วยดลบันดาล ชีวิต มีความเป็นอยู่ที่ดีซึ่งถือว่าเป็นเครื่องเสริมสร้างความรู้สึก เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในชุมชนในการประกอบกิจตามประเพณี ในแต่ละเดือนร่วมกันและคองสิบสิ่ ซึ่งเป็นแนวปฏิบัติตามจารีต ประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นในแต่ละเดือนซึ่งยึดถือปฏิบัติสืบ ต่อกันมาแต่โบราณโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ บรรพบุรุษ 2. ผลการพัฒนาและประเมินคุณภาพสื่อ ซึ่งประยุกต์ใช้ หลักการออกแบบของ ADDIE modelโดยดำเนินการออกแบบ เนื้อเรื่องและสร้างสื่อภาพยนตร์สั้นค่านิยม 12 ประการผ่านวิถี ชีวิตชุมชน มีวิธีการสร้าง ดังนี้ 1) วิเคราะห์เนื้อหา (Analyze) วิเคราะห์เนื้อหาที่จะนำมาสร้างภาพยนตร์สั้นจากผลการศึกษา วิถีชีวิตชุมซนและเนื้อหาค่านิยม 12 ประการ 2) การออกแบบ (Design) ออกแบบบทภาพยนตร์ (Script) บทถ่ายทำ (Shooting Script) เชียนบทภาพ (storyboard) ออกแบบฉากในการถ่าย ทำและออกแบบตัวละคร 3) การพัฒนา (Develop) จัดเตรียม ทรัพยากรที่ใช้ในการพัฒนาภาพยนตร์สั้นและดำเนินการผลิต ภาพยนตร์สั้น 4) การนำไปใช้ (Implementation) นำสื่อ ภาพยนตร์สั้นที่สร้างเสร็จแล้วนำไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความ เหมาะสมและประเมินคุณภาพสื่อ 5) การประเมิน (Evaluate) นำสื่อภาพยนตร์สั้นไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งผลการประเมิน สื่อโดยผู้เชี่ยวชาญโดยรวมและเป็นรายด้านทั้งด้านเนื้อหาและ ด้านเทคนิคการนำเสนอภาพยนตร์อยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.64, S.D. =.23) 3. กลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้ต่อสื่อภาพยนตร์สั้น ค่านิยม 12 ประการ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (X= 4.80, S.D. = .14) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า อยู่ใน ระดับมากที่สุดจำนวน 14 ข้อจากทั้งหมด 15 ข้อ 4. กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อสื่อภาพยนตร์สั้นค่า นิยม 12 ประการ ทั้งด้านเนื้อหาและด้านเทคนิคการนำเสนอ ภาพยนตร์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (X=4.82, S.D. =.09) en_US
dc.description.abstract This research was intended to 1) study a community lifestyle based on the concept idea of human factors for telling a story by employing the idea o f s to ry lin e t o p re se n t “ The T w e lve V a lu e s ” , 2) develop a short film by employing the idea of storyline t o p re sen t “ The T w e lve V a lu e s ” , 3) stu d y t h e re s u lt o f perception of this storyline-based short film presenting “ T h e T w e lv e V a lu e s ” and 4) s tu d y t h e r e s u lt o f students’ satisfaction towards the storyline-based short f ilm presenting “ The T w e lv e V alu e s ” . The sam pling group of this study included 40 students studying in the 6th grade at Banwangbuasamakkhee School, Kantarawichai District, MahaSarakham selected using a purposive random sampling. The research instruments of this study consisted of a semi-structured interview for a community lifestyle, a media assessment form from experts, and a perception and a satisfaction evaluating forms. Statistics for data analysis included percentages, means and standard deviations. Results of the study are as follows. 1. For data of the community lifestyle based on the concept idea of human factors, the community that was studied was Banwangbua Community located in Kantarawichai District, Maha Sarakham. It was found that 1) for physical geography, Banwangbua Community was a big community. Most of the area is a lowland appropriate for agricultural practices. There was a school belonging the community called Banwangbua Samakkheewittaya School which was an alternative school offering students studying in kindergarten to the 3rd grade. There was also a temple called Wat Tha Riap which is used for religious activities and other social activities as w e l l as m o ra l in s tilla tio n fo r stud e nts. 2) เท terms of psychology, Banwangbua Community is a community of relatives in which people share unity, helping and sharing among themselves. Thoughts, believes and values on many aspects related to Buddhism have been being transferred from one generation to another generation causing people in the community to treat one another with moralityhelping and sharing without taking any advantages. Moreover, there have been collaborations among social institutions in the community’s activities. And 3) on the social and cultural aspect, people in the community have been following Heet Sip Song-the twelve traditions of the Northeast of Thailand conducted in each month from the past with the aims of merit devotion to the ancestors and compensation to nature and sacred things in which the people believed that they help them get a well-being life considered helpful for people encouragement to gain unity for taking part in all traditions every month together, and Khong Sip Si -the locally traditional regulations. 2. เท terms of media development and evaluation that the design method of ADDIE model was applied to for designing the plot and creating the short film “The 12 Values Passed Through A Community Lifestyle” , th e creation was comprised o f th e following: 1) analysis - analyzing the plot that will be brought to make the short film gained from the results of the study of the community lifestyle and the matters of the 12 values, 2) design - designing the script and the shooting script, writing the storyboard ,and designing the locations and the characters of the short film, 3) development - preparing the resources used for developing and producing the short film, 4) implementation - sending the completely done short film to the experts to be checked for its suitability and evaluated for its quality and 5) evaluation - tasting the short film with the sampling group, and the evaluating result from the experts evaluating the medium in the overall picture and separately in the aspect of contents and the aspect of techniques for film presentation was on the highest rating scale (X=4.64, S.D. = 0.23). 3. The sampling group had perception towards the short film “The Twelve Values” generally on the highest rating scale (X = 4.80, S.D. = .14), and individually, 14 aspects of their perception appeared on the highest rating scale from all 15 aspects. 4. The sampling group had satisfaction towards the short film “The Twelve Values” for both contents and techniques of film presentation generally on the highest rating scale (X= 4.82, S.D. = .09) en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การพัฒนาภาพยนตร์สั้นโดยใช้แนวคิดสตอรีไลน์สำหรับน่าเสนอ ค่านิยม 12 ประการ ผ่านวิถีชีวิตชุมชน en_US
dc.title การพัฒนาภาพยนตร์สั้นโดยใช้แนวคิดสตอรีไลน์สำหรับน่าเสนอ ค่านิยม 12 ประการ ผ่านวิถีชีวิตชุมชน en_US
dc.title.alternative Short Film Development Based On storyline Method For Presenting “The 12 Values Passed Through A Community Lifestyle” en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics