ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ความสอดคล้องของแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามหลักการบริหารจัดการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในอำเภอซะอำ จังหวัดเพชรบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author สรัญพัธท์, เอี๊ยวเจริญ
dc.date.accessioned 2020-07-14T02:45:33Z
dc.date.available 2020-07-14T02:45:33Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, ปีที่ 11 ฉบับ 2 (ก.ค. - ธ.ค. 2559); ห en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6542
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาความ สอดคล้องของการจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามหลักการบริหารจัดการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงใน อำเภอซะอำ จังหวัดเพชรบุรี(2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการจัด ทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามหลักการบริหาร จัดการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในอำเภอซะอำ จังหวัด เพชรบุรี (3) เพื่อศึกษาแนวทางการปฏิบัติตามแผนพัฒนาองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ตามหลักการบริหารจัดการตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงในอำเภอซะอำ จังหวัดเพชรบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใซ้ในการวิจัย คือ ผู้นำองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอซะอำ จังหวัดเพชรบุรี รวมทั้งสิ้น 7 แห่ง กลุ่มตัวอย่างจำนวน 35 คน จากประชากรทั้งสิ้น 374 คน ลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใซ้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย สัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างที่แน่นอน แบบบันทึก การสังเกตแบบไม่มืส่วนร่วม และแบบสอบถามโดยใช้เทคนิควิธี การวิเคราะห์เนื้อหาและสถิติเซิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) แผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นมีความสอดคล้องตามหลักการบริหารจัดการตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงโดยวิธีการสอดแทรกในยุทธศาสตร์การพัฒนา ซึ่งมีความสอดคล้องอยู่ใน'ระดับมาก โดยเงื่อนไขความรู้มีค่าเฉลี่ย สูงสุด และการมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีมีค่าเฉลี่ยตำที่สุด (2) ปัจจัย ที่มีผลต่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตาม หลักการบริหารจัดการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ การมีส่วนร่วมของประซาซน ทักษะความเป็นผู้นำ สภาพพื้นที่ และสภาพแวดล้อมของท้องถิ่น และสภาพปัญหาของท้องถิ่น เป็นตัวแปรสำคัญส่วนปัจจัยด้านความยอมรับนับถือเป็นตัวแปร รองลงมา (3) แนวทางการปฏิบัติตามแผนพัฒนาองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ตามหลักการบริหารจัดการตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียง พบว่า แนวทางการปฏิบัติในด้านความพอประมาณ และเงื่อนไขรู้ความมีแนวทางการปฏิบัติสูง และการมีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดีมีแนวทางการปฏิบัติตํ่าที่สุด en_US
dc.description.abstract This research aims to (1) study the concordance of local administration development plans based on Sufficiency Economy Principles in administration and management in Cha-am District, Phetchaburi Province. (2) Study the factors that influence local administration development plans based on Sufficiency Economy Principles in administration and management in Cha-am District, Phetchaburi Province. (3) study the implementa-tion of local administration development plans based on Sufficiency Economy Principles in administration and management in Cha-am District, Phetchaburi Province. The samples of the study were 7 local adminis-tration leaders in Cha-am District, Phetchaburi Province. 35 people were selected from a total population of 374 people by using purposive sampling. The instru¬ments used for data collection consisted of structured interview, non-participation observation, and question-naires using content analysis and descriptive statistics including percentage, average, and standard deviation. The results showed that: (1) local administration development plans were consistent with the Sufficiency Economy Principles in administration and management. The intervention method in development strategy had the concordance at a high level. The highest average was the knowledge condition and the lowest average was the self-immunity. (2) Factors affecting the devel¬opment plans of local administration in accordance with the Principles of Sufficiency Economy included the participation of public, leadership skills, the area, the local environment and local problem conditions were the major variables while the factor relating the accreditation was the minor variable. (3) The methods implemented according to local administration devel¬opment plans based on Sufficiency Economy Principles in administration and management revealed that the moderation practice and knowledge condition had been implemented at a high level. Meanwhile, the implementation of self-immunity was the lowest. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ความสอดคล้องของแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามหลักการบริหารจัดการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในอำเภอซะอำ จังหวัดเพชรบุรี en_US
dc.title ความสอดคล้องของแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามหลักการบริหารจัดการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในอำเภอซะอำ จังหวัดเพชรบุรี en_US
dc.title.alternative Concordance of Development Plans and Efficiency Economy Principles in Administration and Management Undertaken by the Local Administration Organization in Cha-am District, Phetchaburi Province en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics