ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

รูปแบบการบริหารจัดการการท่องเที่ยวของนครชัยบุรินทร์

Show simple item record

dc.contributor.author กนกเกล้า, แกล้วกล้า
dc.date.accessioned 2020-07-14T02:30:04Z
dc.date.available 2020-07-14T02:30:04Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, ปีที่ 11 ฉบับ 2 (ก.ค. - ธ.ค. 2559); en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6533
dc.description.abstract การศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์!) เพื่อศึกษาศักยภาพ การท่องเที่ยวเซิงวัฒนธรรมของนครชัยบุรินทร์ 2) เพื่อศึกษา พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวเซิงวัฒนธรรมของ นครชัยบุรินทร์ และ 3) การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการ ท่องเที่ยวเซิงวัฒนธรรมของนครชัยบุรินทร์ โดยดำเนินการวิจัย แบบผสมวิธีเป็นรูปแบบผสมผสานทั้งการวิจัยด้วยวิธีเซิงปริมาณ โดยประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กลุ่มนักท่องเที่ยว ที่เดินทาง มาท่องเที่ยวเซิงวัฒนธรรมของนครชัยบุรินทร์ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามและการวิจัย เซิงคุณภาพที่ทำการสัมภาษณ์เซิงลึกกับกลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางด้าน การท่องเที่ยว จำนวน 18 ท่าน ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการบริหารจัดการการท่อง เที่ยวของนครชัยบุรินทร์อย่างยั่งยืนประกอบด้วย (1) ด้าน การเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว (2) ด้านคุณค่าของการเป็นแหล่ง ท่องเที่ยว (3) ด้านการประชาสัมพันธ์ในการเป็นแหล่งท่องเที่ยว (4) ด้านขีดสามารถในการรองรับของพื้นที่ (5) ด้านความปลอดภัย (6) ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก และ (7) ด้านความพร้อมของ คนในชุมซนที่มีต่อการท่องเที่ยวซึ่งผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่จะนำ ไปประยุกต์ใช้ต้องมีการพิจารณาให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่ตั้งไว้ รวมทั้งสอดคล้องกับสถานการณ์ในขณะ นั้นเพื่อให้เกิดความมีประสิทธิผลมากที่สุด ในการทำประโยชน์ ให้กับประชาชน สังคมและประเทศซาติ ต่อไป en_US
dc.description.abstract The study on 1)To study the potential of cultural tourism of the city of Nakhon Chai Burin 2) To study the travel habits of tourists culture Nakhon Chai Burin and 3) To develop a model for managing cultural tourism of the city of Nakhon Chai Burin. Research was carried out by a mixed model approach combines both quantitative research methods. The sample population and tourists Leisure-oriented culture of the city of Nakhon Chai Burin 400 instruments used in research, including surveys and qualitative research interviewing depth with an expert group of 18 persons. The results showed that the pattern of tourism management of Nakhon Chai Burin sustainability include: (1) access to sites (2) the value of tourism (3) the promotion of tourism (4) underscores the scalability of the area (5) Security (6) the facilities and (7) the availability of the community towards tourism. The relevant parties to apply to be considered for the purposes and goals set. As well as in line with the situation at that time, to achieve the most productive. To serve the public Society and the Nation en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject รูปแบบการบริหารจัดการการท่องเที่ยวของนครชัยบุรินทร์ en_US
dc.title รูปแบบการบริหารจัดการการท่องเที่ยวของนครชัยบุรินทร์ en_US
dc.title.alternative A model for Cultural Tourism Management in Nakhonchaiburin en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics