ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในชมรมผู้สูงอายุตำบล บางนกแขวก อาเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม

Show simple item record

dc.contributor.author นางสาวโชฐิรส พลไชยมาตย์, พลไชยมาตย์
dc.contributor.author เสน่ห์, แสงเงิน
dc.date.accessioned 2020-07-13T07:27:34Z
dc.date.available 2020-07-13T07:27:34Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation วารสารสหวิทยการจัดการ ปีที่1 ฉบับที่1 (มกราคม-มิถุนายน)2561. en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6494
dc.description.abstract การวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยนา ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม และ พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และหาความสัมพันธ์ของปัจจัยนา ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชมรมผู้สูงอายุตาบลบางนกแขวก อาเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงครามเป็นอย่างไร ประชากร คือ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง อายุ 60 ปีขึ้นไป จานวน 597 คน คานวณโดยใช้สูตร Yamane Taro และเพิ่มจานวนกลุ่มตัวอย่าง 10% เพื่อป้องกันการสูญหายของกลุ่มตัวอย่าง ได้ กลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 262 คน คัดเลือกโดยการสุ่มตัวอย่างแบบ Systematic Random Sampling เก็บข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถาม ได้แก่ ข้อมูลส่วนบุคคล, ด้านความรู้, ด้านทัศนคติ, ปัจจัยเอื้อ, ปัจจัยเสริม, และพฤติกรรมการดูแล สุขภาพของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง นาไปทดลองใช้และวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.91วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลวิจัยพบว่า ด้านความรู้มีค่าเฉลี่ยในระดับสูง ถึงร้อยละ 66.00 ( = 2.59, S.D. = 0.61) ด้านทัศนคติมีค่าเฉลี่ยในระดับสูงถึงร้อยละ 52.30 ( = 2.52, S.D. = 0.50) ปัจจัยเอื้อมีค่าเฉลี่ยใน ปานกลางร้อยละ 83.60 ( = 2.62, S.D. = 0.31) ปัจจัยเสริมอยู่ในระดับสูงร้อยละ 76.00 ( = 2.52, S.D. = 0.24) พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีค่าเฉลี่ยในระดับระดับปานกลาง ถึงร้อยละ 63.70 ( = 1.97, S.D. = 0.31) ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่า ด้านความรู้, ด้านทัศนคติและปัจจัยเสริมมีความสัมพันธ์ ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (r = 0.18, p-value <0.001, r = 0.12, p-value = 0.05 และ r = 0.25, p-value <0.001 ตามลาดับ) แต่ปัจจัยเอื้อไม่มีความ สัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคความดันโลหิต (r = -0.07, p-value = 0.29) ข้อเสนอแนะจาก งานวิจัย สถานพยาบาลและบุคคลากรควรมีพัฒนารูปแบบส่งเสริมกิจกรรมต่างๆในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรค ความดันโลหิตสูง โดยจัดให้มีโครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับครอบครัว และสภาพแวดล้อม เพื่อให้ผู้สูง อายุเกิดความตื่นตัวและตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการการดูแลสุขภาพตนเอง en_US
dc.description.abstract This descriptive research aimed to study predisposing factors, enabling factors, and reinforcing factors associated with health care behavior of hypertensive patients in the elderly club in bang nok khwaek sub-district, Bang Khonthi, Samut Songkhram. Population was 597 elderly people and the sample size calculating used Yamane Taro formula for 262 cases. Data were collected by questionnaires composed of 6 parts; personal characteristics, knowledge, attitude, enabling factors, reinforcing factors, and health care behavior of hypertensive patients. Try out testing reliability by Cronbach’s coefficient alpha was 0.91, and statistic analyzed used Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient. The result showed that knowledge had mean score with high level 66.00% ( = 2.59, S.D. = 0.61). Attitude had mean score with high level 90.67% 52.30 ( = 2.52, S.D. = 0.50). Enabling factors had mean score with medium level 83.60% ( = 2.62, S.D. = 0.31). Reinforcing factors had mean score with high level 76.00% ( = 2.52, S.D. = 0.24). Health care behavior of hypertensive patients with medium level 63.70 ( = 1.97, S.D. = 0.31). Association analyzed found that predisposing factors both knowledge, attitude and Reinforcing factors were positively associated with Health care behavior of hypertensive patients with significance at 0.05 (r = 0.18, p-value <0.001, r = 0.12, p-value = 0.05 and r = 0.25, p-value <0.001 respectively). Suggestions from research Hospitals and personnel should develop a model to promote various activities in health care for hypertensive patients. By providing projects or activities suitable for families and the environment for the elderly to be alert and aware of behavioral changes in self-care en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในชมรมผู้สูงอายุตำบล บางนกแขวก อาเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม en_US
dc.title ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในชมรมผู้สูงอายุตำบล บางนกแขวก อาเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics