ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การดำเนินงานบริหารงานวิชาการในโรงเรียนอำเภอนางรองสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32

Show simple item record

dc.contributor.author อัจฉราภรณ์, พลรักษา
dc.date.accessioned 2017-09-02T04:32:43Z
dc.date.available 2017-09-02T04:32:43Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/580
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อการศึกษาและเปรียบเทียบการดำเนินงานบริหารงานวิชาการนาโรงเรียนอำเภอนางรอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ที่จำแนกตามสถานภาพตำแหน่ง ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานและขนาดของโรงเรียนกลุ่มตัวอย่างได้แก่ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 35 และครู จำนวน 263 คน จาก 7 โรงเรียน รวมทั้งหมด 298 คน เคริ่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม มีจำนวน 3 ตอน คือ แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส่วนประมาณค่า และแบบปลายเปิด มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .9130 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมุติฐานโดยใช้ t-test เมิ่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จึงทำการทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffe) กำหนดค่าสถิติที่ระดับนัยสำคัญ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1. การดำเนินงานบริหารงานวิชาการในโรงเรียนอำเภอนางรอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีการปฏิบัติมากที่สุดคือ ด้านการวัดผลและประเมินผลกรเรียนและงานทะเบียนนักเรียน รองลงมาคือ ด้านการดำเนินงานวิชาการ ส่วนด้านที่มีการปฏิบัติน้อยที่สุด คือ ด้านการวางแผนงานวิชาการ 2. เปรียบเทียบผู้บริหารและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ที่สถานภาพตำแหน่งต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการดำเนินงาบริหารงานวิชาการ โดนรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและด้านการส่งเสริมทางวิชาการ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านอื่นๆไม่แตกต่างกัน 3. เปรียบเทียบผู้บริหารและรู สังกัดสำนักงานเขตพ้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานและขนาดของโรงเรียนต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการดำเนินงานบริหารงานวิชาการ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 4. ความคิดความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้บริหารและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ที่มีค่าร้อยละสูงสุดในด้านการวางแผนงานวิชาการ คือควรมีระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานวิชาการที่จัดเจน ด้านการดำเนินงานวิชาการ คือควรนำผลการนิเทศภายในมาปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงานวิชาการ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คือ ควรส่งเสริมและพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร ด้านการพัฒนาและส่งเสริมทางด้านวิชาการ คือ ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ทางวิชาการให้แก่นักเรียนอย่างสม่ำเสมอด้านการวัดผลและประเมินผลการเรียนและงานทะเบียนนักเรียน คือ ควรมีระเบียบและแนวปฏิบัติที่ชัดเจนเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลการเรียน ด้านแนะแนวการศึกษา คือ ควรประสานความร่วมมือกับชุมชนในการแนะแนวอาชีพแก่นักเรียน และด้านประเมินผลการดำเนินงานวิชาการ คือ ควรให้บุคคลภายนอกมีส่วนร่วมในการประเมินผลการดำเนินงานวิชาการ " th_TH
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อการศึกษาและเปรียบเทียบการดำเนินงานบริหารงานวิชาการนาโรงเรียนอำเภอนางรอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ที่จำแนกตามสถานภาพตำแหน่ง ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานและขนาดของโรงเรียนกลุ่มตัวอย่างได้แก่ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 35 และครู จำนวน 263 คน จาก 7 โรงเรียน รวมทั้งหมด 298 คน เคริ่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม มีจำนวน 3 ตอน คือ แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตราส่วนประมาณค่า และแบบปลายเปิด มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .9130 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมุติฐานโดยใช้ t-test เมิ่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จึงทำการทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffe) กำหนดค่าสถิติที่ระดับนัยสำคัญ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1. การดำเนินงานบริหารงานวิชาการในโรงเรียนอำเภอนางรอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีการปฏิบัติมากที่สุดคือ ด้านการวัดผลและประเมินผลกรเรียนและงานทะเบียนนักเรียน รองลงมาคือ ด้านการดำเนินงานวิชาการ ส่วนด้านที่มีการปฏิบัติน้อยที่สุด คือ ด้านการวางแผนงานวิชาการ 2. เปรียบเทียบผู้บริหารและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ที่สถานภาพตำแหน่งต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการดำเนินงาบริหารงานวิชาการ โดนรวมไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและด้านการส่งเสริมทางวิชาการ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านอื่นๆไม่แตกต่างกัน 3. เปรียบเทียบผู้บริหารและรู สังกัดสำนักงานเขตพ้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานและขนาดของโรงเรียนต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการดำเนินงานบริหารงานวิชาการ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 4. ความคิดความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้บริหารและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ที่มีค่าร้อยละสูงสุดในด้านการวางแผนงานวิชาการ คือควรมีระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานวิชาการที่จัดเจน ด้านการดำเนินงานวิชาการ คือควรนำผลการนิเทศภายในมาปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงานวิชาการ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คือ ควรส่งเสริมและพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร ด้านการพัฒนาและส่งเสริมทางด้านวิชาการ คือ ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ทางวิชาการให้แก่นักเรียนอย่างสม่ำเสมอด้านการวัดผลและประเมินผลการเรียนและงานทะเบียนนักเรียน คือ ควรมีระเบียบและแนวปฏิบัติที่ชัดเจนเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลการเรียน ด้านแนะแนวการศึกษา คือ ควรประสานความร่วมมือกับชุมชนในการแนะแนวอาชีพแก่นักเรียน และด้านประเมินผลการดำเนินงานวิชาการ คือ ควรให้บุคคลภายนอกมีส่วนร่วมในการประเมินผลการดำเนินงานวิชาการ " en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. ศูนย์วิทยบริการ. en_US
dc.title การดำเนินงานบริหารงานวิชาการในโรงเรียนอำเภอนางรองสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 en_US
dc.title.alternative THE OPERATION OF ACADEMIC ADMINISTRATION IN SCHOOLS AT NANGRONG DISTRICT UNDER SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE ARE OFFICE 32 en_US
dc.type Thesis en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics