ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ความสำคัญทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในจังหวัดหนองคาย และนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว

Show simple item record

dc.contributor.author โอชัญญา, บัวธรรม
dc.date.accessioned 2019-08-09T07:16:45Z
dc.date.available 2019-08-09T07:16:45Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 14, ฉบับที่ 3 (ก.ย.- ธ.ค. 2559) : หน้า 167 - 175 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5339
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพื่อ ตอบสนองการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : กรณีศึกษาจังหวัดหนองคายและเวียงจันทน์ สปป.ลาว โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ประเมินความสำคัญทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัดหนองคายและนครหลวงเวียงจันทน์ 2) เพื่อวิเคราะห์ความเชื่อมโยงและเสนอแนะเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมระหว่างจังหวัดหนองคายและนครหลวง เวียงจันทน์ พื้นที่กรณีศึกษาประกอบด้วย อำเภอเมืองหนองคาย อำเภอศรีเชียงใหม่ อำเภอท่าบ่อ อำเภอโพนพิสัย จังหวัด หนองคาย และนครหลวงเวียงจันทน์ สปป. ลาว ผู้วิจัยได้ประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ความสำคัญทางวัฒนธรรมของกฎบัตร เบอร่า ประเทศออสเตรเลีย (Australia ICOMOS Burra charter 1999) และหลักการอนุรักษ์แหล่งมรดกในประเทศจีน (Principles for the Conservation of Heritage Sites in China) มาใช้ในการประเมินความสำคัญของแหล่งท่องเที่ยว ผลการวิจัยพบว่าแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัดหนองคายและนครหลวงเวียงจันทน์ สปป. ลาว นั้น มีความสำคัญ ทางวัฒนธรรมซึ่งประกอบด้วย คุณค่าทางประวัติศาสตร์ คุณค่าทางความงาม คุณค่าทางวิทยาศาสตร์และภูมิปัญญา และ คุณค่าทางสังคม ที่แตกต่างกันออกไป คือ อำเภอเมืองหนองคายมีระดับความสำคัญทางวัฒนธรรมซึ่งประกอบด้วยคุณค่า ทั้งสี่ประเภทดังกล่าวอยู่ในเกณฑ์มากที่สุด โดยสถานที่ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีความเชื่อมโยงกับนครหลวงเวียงจันทน์ สปป. ลาว ในด้านประวัติศาสตร์และความเชื่อที่คล้ายคลึงกันอยู่ในอำเภอเมืองหนองคายมากที่สุด รองลงมาคืออำเภอ ศรีเชียงใหม่ อำเภอท่าบ่อ และอำเภอโพนพิสัย en_US
dc.description.abstract This research was a qualitative research with these objectives 1) to assess cultural significance of cultural tourism destination within Nong Khai province and Vientiane Capital, Laos 2) to analyze and provide cultural tourism route within Nong Khai province and Vientiane Capital, Laos. The study areas were Mueang Nong Khai District, Si Chiang Mai District, Tha Bo District, Phon Phisai District and Vientiane Capital, Lao PDR. The cultural significance assessment of Australia ICOMOS Burra charter 1999 and principles for the Conservation of Heritage Sites in China were used to assess the value of tourism destination. The result of the research showed that cultural tourism destinations within Nong Khai province and Vientiane Capital, Laos had differences in cultural significance in respect of Historical Value, Aesthetic Value, Scientific Value and Social Value. Mueang Nong Khai District had cultural significance values at the highest level. The cultural tourism destinations that linked to Vientiane Capital in term of the similar history and belief were at a high level in Si Chiang Mai District, followed by Tha Bo District and Phon Phisai District. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ความสำคัญทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในจังหวัดหนองคาย และนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว en_US
dc.title ความสำคัญทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในจังหวัดหนองคาย และนครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว en_US
dc.title.alternative Cultural Significance of Cultural Tourism Destinations in Nong Khai and Vientiane Capital, Laos PDR en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics