ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของบุคคล องค์กร และชุมชน ในการเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมเชิงพุทธบูรณาการ

Show simple item record

dc.contributor.author ศันสนีย์, ชุมพลบัญชร
dc.date.accessioned 2019-08-09T06:48:28Z
dc.date.available 2019-08-09T06:48:28Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 13, ฉบับที่ 3 (ก.ย. - ธ.ค. 2558) : หน้า 203 - 214 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5311
dc.description.abstract ผลการวิจัย พบว่า แนวคิดและหลักการความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร ธุรกิจ (Corporate Social Responsibility = CSR) เชิงพุทธบูรณาการ ได้แก่ หลัก การการดำเนินงาน คือ การไม่เบียดเบียนและการพัฒนาคุณภาพชีวิตบนกำไรแบบ พอเหมาะ หลักการเป้าหมาย คือ การประสานประโยชน์สองฝ่ายร่วมกัน ส่วนวิธีการ และกระบวนการ ได้แก่ การดำเนินธุรกิจตามหลักสัมมาอาชีวะ ทำให้เกิดสุขคฤหัสถ์ จากการมีทรัพย์อย่างถูกต้องชอบธรรม แล้วจึงวางแผนจัดสรรกำไรและทรัพยากรของ ธุรกิจไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมตามหลักโภควิภาค 4 และโภคอาทิยะ 5 บรรลุ เป้าหมายคือประโยชน์ทั้งสองฝ่าย สำหรับการประยุกต์ใช้แนวคิด CSR เชิงพุทธบูรณ าการในการพัฒนาบุคคลและสังคม พบว่า กรณีตัวอย่างได้นำแนวคิดมาประยุกต์ใช้ เกิดการพัฒนาบุคคลและสังคม ส่วนการศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของบุคคล องค์กร และชุมชนในการเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมเชิงพุทธบูรณาการ พบ ว่า ความสัมพันธ์ทั้งแนวตั้งขององค์กรธุรกิจและชุมชน และความสัมพันธ์แนวนอน ระหว่างองค์กรกับชุมชน ของกรณีตัวอย่างสามารถเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อ สังคมได้ เมื่อนำหลักธรรมมาเชื่อมโยงกับความสัมพันธ์ดังกล่าวจะได้ความสัมพันธ์ ที่เป็นไปตามกรอบแนวคิดการครองตน ครองคน ครองงาน เมื่อบุคคล องค์กรและ ชุมชนได้ครองตน ครองคนและครองงานแล้วจะเกิดประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น (ประโยชน์สองฝ่ายร่วมกัน) อันเป็นเป้าหมายของ CSR ได้แก่ เศรษฐกิจมั่นคง สังคม สงบสุข และสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติยั่งยืน en_US
dc.description.abstract The concept and principle of Corporate Social Responsibility (CSR) on Buddhist integration were the followings : the operation principle which included nonviolence and development in quality of life based on optimum profit. The aim principle was coordination in mutual benefits.The method and process was business operation according to Samm - jiva which produced happiness to house-holders from righteous profit acquisition. Then the profit and business’ resources were planned, allocated and spent by Bhogavibh ga 4 and Bhoga- diya 5 for social benefits. These all bring mutual benefits. Regarding applying the concept of CSR on Buddhist integration to develop person and society, it was found that respondents applied the concept to develop person and society. The analytical study of participation of person organization and community in social responsibility on Buddhist integration found that vertical participation; participation of business and community and horizontal participation ; participation between business and community from respondents led to promote social responsibility. While connecting Buddhist principles to these participations it gave rise to the participation according to the concept of self-management, personnel-management and job-management. When person, organization and community apply self-management, personnelmanagement and job-management, they received benefit both oneself and others (mutual benefits) as per the aims of the CSR included economic security, peaceful society and sustainable environment. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของบุคคล องค์กร และชุมชน ในการเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมเชิงพุทธบูรณาการ en_US
dc.title การศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของบุคคล องค์กร และชุมชน ในการเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมเชิงพุทธบูรณาการ en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics