ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ชุมชนคารวะตะธรรม : กระบวนการเรียนรู้สู่ชีวิตและสังคมที่ดีงาม

Show simple item record

dc.contributor.author อาทิตย์, บำรุงอื้อ
dc.date.accessioned 2019-08-09T04:37:13Z
dc.date.available 2019-08-09T04:37:13Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 13, ฉบับที่ 3 (ก.ย. - ธ.ค. 2558) : หน้า 251 -260 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5290
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคมของชุมชน พื้นที่ขับเคลื่อนจากอดีตจนถึงปัจจุบัน เพื่อสร้างกระบวนการชุมชนคารวะตะธรรม ที่เหมาะสมให้กับกลุ่มเป้าหมายและนำชุมชนคารวะตะธรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ ชุมชนพื้นที่อื่น โดยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี ซึ่งใช้การวิจัยเชิงคุณภาพเป็นหลัก การ วิจัยเชิงปริมาณเป็นรอง รวบรวมข้อมูลโดยการสำรวจชุมชน การทำแผนที่ภูมิสังคม การเสวนาทางวิชาการ การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง การสัมภาษณ์เชิงลึก และ การสนทนากลุ่ม โดยใช้เครื่องมือ คือ แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง แบบบันทึก การสนทนา และแบบสังเกตพฤติกรรม ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1) ปรากฏการณ์ทางสังคมจากอดีตจนถึงปัจจุบัน พบว่า ชุมชน มีความเสี่ยงที่ผู้คนเริ่มเสื่อมถอยด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่ดีงาม ละเลยวิถี ชุมชนที่พึ่งพิงและเคารพธรรมชาติ ขาดการเคารพตนเองและผู้อื่น 2) กระบวนการ ชุมชนคารวะตะธรรมที่เหมาะสม ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ (1) การสร้างกลุ่ม คนคารวะตะธรรม (2) การสถาปนากลุ่ม (3) การออกแบบกิจกรรมกลุ่ม (4) การขับ เคลื่อนกิจกรรมกลุ่ม (5) การเสริมสร้างพลังกลุ่ม สามารถสร้างภูมิคุ้มกันในการดำเนิน ชีวิตให้ผู้คนในชุมชนพ้นจากความเสี่ยง 3) การนำชุมชนคารวะตะธรรมเรียนรู้ร่วมกันกับชุมชนพื้นที่อื่น เป็นการเชื่อมโยงการเรียนรู้ใน พฤติกรรมเชิงประจักษ์ พบว่า หลังการเรียนรู้ร่วม กัน ชุมชนพื้นที่อื่นล้วนผ่านการรับรู้ มีท่าทีตอบรับ ชุมชนคารวะตะธรรม en_US
dc.description.abstract This research aimed to study the social phenomenon of the community area driven from the past to present in order to create the appropriate process to form the target group to be the Garavata Dhamma community. Moreover, such community had to learn and share Garavata Dhamma knowledge with other communities. The study used Mixed Methods Research Design which mostly focused on the qualitative data while the quantitative was minor. Data collection instruments were community survey, social mapping, academic seminar, unstructured interview, in-depth interview, and focus group. The data were analyzed using content analysis. The findings show that: 1) The study of social phenomenon from the past to present found that the community was at risk as the people’s virtue, morality, ethics, and value began to decline. Community way of life that depended on and respected for nature was left behind. People lacked self-respect and respect for others. 2) The appropriate Garava Dhamma community process comprised 5 steps : (1) forming a group of Garavata Dhamma people, (2) establishing the group, (3) designing group activities, (4) driving group activities, and (5) empowering the groups. The results showed that the Garavata Dhamma community process can build the immunity for people in living their lives and getting out of risk. 3) Bringing the Garava Dhamma community to learn and share knowledge with other communities was the link of explicit learning. It was found that other communities experienced the knowledge and seemed to accept the Garavata Dhamma community. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ชุมชนคารวะตะธรรม : กระบวนการเรียนรู้สู่ชีวิตและสังคมที่ดีงาม en_US
dc.title ชุมชนคารวะตะธรรม : กระบวนการเรียนรู้สู่ชีวิตและสังคมที่ดีงาม en_US
dc.title.alternative Garavata Dhamma Community : Learning Process for Good Life and Society en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics