ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การพัฒนาคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชาเมโลเดียนเบื้องต้น ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสวนลุมพินี กรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.author ธนาวุฒิ, ขุมทอง
dc.date.accessioned 2019-08-09T04:18:50Z
dc.date.available 2019-08-09T04:18:50Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร. ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2560) : หน้า 197-205 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5274
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชาเมโลเดียน เบื้องต้นของ นักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 3 ให้ได้ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และ 2) เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนของ นักเรียนที่เรียน ระหว่างก่อน – หลังการเรียน โดยคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในรายวิชาเมโลเดียนเบื้องต้น กลุ่มตัวอย่างเป็น นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชาเมโลเดียนเบื้องต้น แบบประเมินคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและ หลังเรียน แบบประเมินทักษะการปฏิบัติ เมโลเดียนเบื้องต้น วิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และ t-test dependent ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชาเมโลเดียนเบื้องต้นประกอบ ด้วยขอบเขตเนื้อหา (1) การ วางนิ้ว การวางปากและการหายใจ (2) การเป่าเมโลเดียนด้วยโน้ตสากลและจังหวะ (3) การ บรรเลงบทเพลงสำหรับเมโลเดียน มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 83.13/82.29 ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 2) หลัง เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) นักเรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถสูงกว่าก่อนเรียน อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1 en_US
dc.description.abstract The purposes of this research were 1) to develop computer-assisted instruction on “An Introduction to Melodeon” for Prathomsuksa 3 Students at Suanlumpini School Bangkok on basis of efficiency criteria 80/8,0 and 2) to compare students’ learning achievement between before and after using the developed CAI. The sample included Prathomsuksa 3students. The research instruments were CAI, assessment form of CAI quality, pre- and post-test, and practical assessment form. Data was statistically analyzed in percentage, mean, standard deviation, and t-test. The findings revealed as follows: 1) The efficiency of the developed CAI involving (1) finger positioning, mouth positioning, and breathing, 2) playing melodeon with musical note and rhythm, and (3) playing music with melodeon measured83.13/82.29, which was higher than the specified criteria. 2) The students’ learning achievement after learning through the developed CAI was high than that before the experiment at significance level .01. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การพัฒนาคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชาเมโลเดียนเบื้องต้น ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสวนลุมพินี กรุงเทพมหานคร en_US
dc.title การพัฒนาคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชาเมโลเดียนเบื้องต้น ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสวนลุมพินี กรุงเทพมหานคร en_US
dc.title.alternative The Development of Computer-Assisted Instruction on “An Introduction to Melodeon” for Prathomsuksa 3 Students at Suanlumpini School Bangkok en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics