ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ปฐมสมโพธิฉบับล้านนา : การปริวรรตการชำระและการศึกษาวิเคราะห์

Show simple item record

dc.contributor.author พระครูสิริรัตนโสภิต (ศรีวรรณ โสวณฺณสิริ)
dc.date.accessioned 2019-08-09T04:03:36Z
dc.date.available 2019-08-09T04:03:36Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 14, ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค. 2559) : หน้า 79 - 87 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5259
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษากำเนิดและพัฒนาการคัมภีร์ปฐมสมโพธิฉบับล้านนา 2) เพื่อปริวรรตและชำระคัมภีร์ปฐมสมโพธิล้านนาฉบับวัดทากาศ ตำบลทากาศ อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน และ 3) เพื่อศึกษา วิเคราะห์คัมภีร์ปฐมสมโพธิล้านนาฉบับวัดทากาศ ตำบลทากาศ อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน จากการศึกษา พบว่า กำเนิด และพัฒนาการคัมภีร์ปฐมสมโพธิฉบับล้านนา เป็นการแปลเนื้อหามาจากปฐมสมโพธิล้านนาฉบับภาษาบาลี ซึ่งมีเนื้อหา ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฏกตั้งแต่ตอนประสูติมาถึงการตรัสรู้ โดยมีจุดมุ่งหมายในการแต่งเพื่อนำเสนอสาระพุทธประวัติแก่ ผู้สนใจทั่วไปที่ไม่ใช่พระภิกษุ ส่วนการปริวรรตและตรวจชำระคัมภีร์ปฐมสมโพธิล้านนาฉบับวัดทากาศ ตำบลทากาศ อำเภอ แม่ทา จังหวัดลำพูน พบว่า มีการเขียนภาษาบาลีที่ผิดพลาดอยู่มากเนื่องจากเป็นการเขียนแบบภาษาพูด ที่มีการสะกดคำ ตามสำเนียง จึงได้ทำการชำระให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ภาษาบาลี จากการศึกษาวิเคราะห์พบว่า มีการดำเนินเรื่องด้วย การยกบาลีมาเป็นบทตั้งทีละศัพท์หรือทีละประโยคแล้วแปลเป็นภาษาล้านนาที่เรียกกันโดยทั่วไปว่าการแปลแบบนิสสัย อีก ลักษณะหนึ่ง เป็นการยกบาลีมาตั้งเพียงศัพท์เดียวหรือประโยคเดียว จากนั้นก็พรรณนาความไปจนจบตอนที่เรียกกันว่าการ แปลแบบโวหาร สำหรับการนำเสนอเนื้อหานั้น เป็นไปตามลักษณะการเขียนวรรณกรรมโดยทั่วไป คือ เริ่มต้นด้วยปณาม คาถาหรือบทนมัสการพระรัตนตรัยแล้วดำเนินเนื้อหาต่อกันไปเรื่อยๆ ประมาณ 35-40 หน้าจึงจบแต่ละผูก en_US
dc.description.abstract The dissertation consistsed of 3 objectives as: 1) to study the origin and development of the Lān-Nā Pathamasambobdhi, 2) to transliterate and edit the Lān-Nā Pathamasambodhi of Wat Thakat, Thakat Sub-District, Maetha District Lamphun, Province and 3) to analyse the Lān-Nā Pathamasambodhi of Wat Thakat, Thakat Sub-District, Maetha District, Lamphun Province. From the study it was found that the origin and development of the Lān-Nā Pathamasambodhi was translated from the Lān-Nā Pathamasambodhi in Pali version that has the subject-matter appeared in the TipitaKa from birth to enlightenment, the purpose of writing was to present the matter to the general non-Buddhist monks. The transliteration and edition of the Lān-Nā Pathamasambodhi of Wat Thakat, Thakat Sub-District Maetha District Lamphun Province, researcher applies the method of transliteration which was generally accepted in Lān-Nā translitaration. From the transliteration it was found that there were many error in writing Pali, the error was due to verbal writing, spelling with the accent. So, grammar had to be corrected. For its content, it was found that it was the implementation of the original Pali. The analytical study showed that the Lān-Nā Pathamasambodhi of Wat Thakat was transliterated in the Lān-Nā Pathamasambodhi in Pali version. The writing was firstly composed by raising the word or the sentence of Pali and translated into the Lān-Nā language, commonly referred to as the translation of Nissaya. Another characteristic of Pali was composed by describing only a word or a sentence as Vohara. For the presentation as a literature emphasized the Panamagatha or respected for the salutation of the Triple Gem and described the contents of a tie (35-40 palm leaves). en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ปฐมสมโพธิฉบับล้านนา : การปริวรรตการชำระและการศึกษาวิเคราะห์ en_US
dc.title ปฐมสมโพธิฉบับล้านนา : การปริวรรตการชำระและการศึกษาวิเคราะห์ en_US
dc.title.alternative The Lān-Nā Pathamasambodhi : Transliteration, Edition and Analytical Study en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics